Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2การพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม, image, image, image, image, image, image,…
บทที่2การพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม
4การพยาบาลระยะหลังผ่าตัด
การดูแลหลังผ่าตัด
รดูแลหลังผ่าตัดระยะ 24 ชั่วโมงแรก
การดูแลหลังผ่าตัดในระยะ 24 ชั่วโมง ผู้ปุวยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด พยาบาลจะต้องประเมินอาการได้
อย่างรวดเร็ว เพื่อให้ทราบอาการต่างๆ หลังการผ่าตัดเสร็จสิ้น ผู้ปุวยจะถูกน ามายังห้องพักฟื้น (Recovery Room ) เพื่อ
ประเมินอาการหลังผ่าตัด
การพยาบาลผู้ปุวยหลังผ่าตัดระยะแรก การฟื้นฟูสภาพร่างกายหลังผ่าตัด พยาบาลจะต้องปฏิบัติดังนี้
1 เวลาที่รับผู้ปุวยไว้
2 การดูแลหลังผ่าตัดระยะหลังโดยทั่วไป 3การดูแล ปูองกันการส าลักน้ า น้ าลาย อาเจียน เข้าไปในปอด พลิกตัวผู้ปุวยบ่อยๆ 4การดูแล ให้ผู้ปุวยเคลื่อนไหวหลังผ่าตัดโดยเร็ว กระตุ้นการออกก าลังแขนขา กระตุ้นการท ากิจวัตร
ประจ าวัน 5 การดูแล โดยให้ผู้ปุวยหายใจเข้า –ออก วิธีการสอนให้ผู้ปุวยฝึกการหายใจ วิธีการสอนให้ผู้ปุวยฝึกการไอ
1ความหมาย
การพยาบาลศัลยกรรม หมายถึง การดูแลผู้ปุวยที่ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
การเตรียมด้านจิตใจ
การเตรียมด้านจิตใจ ผู้ปุวยจะเกิดความรู้สึกวิตกกังวลเมื่อต้องรักษาด้วยการผ่าตัด ความวิตกกังวลของแต่ละคนจะแตกต่างกันตามความสามารถในการรับรู้และการเผชิญปัญหา เริ่มต้นตั้งแต่การวิเคราะห์โรค การตรวจหลายๆวิธี อาจกังวลเพราะยังไม่ทราบว่าเป็นโรคอะไร จะต้องรักษาอย่างไร
การเตรียมด้านร่างกาย
ภาวะสมดุลของร่างกายก่อนการผ่าตัดมีความส าคัญเท่าๆกับความสมดุลด้านจิตใจ
ทั้งนี้เพื่อเป็นการปูองกัน หรือแก้ไขมิให้เกิดภาวะผิดปกติ หรือโรคแทรกซ้อนหลังผ่าตัด การเตรียมร่างกายจะต้องค านึงถึงสิ่งต่างๆต่อไปนี้ ระบบหัวใจและหลอดเลือด,ระบบทางเดินหายใจ,ระบบทางเดินปัสสาวะ,ความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับน้ าและอาหารที่พอเหมาะ,ภาวะสารน้ าและอิเลคโตรลัยดการพักผ่อนและการออกก าลังกาย,ค าแนะน าและข้อมูลต่างๆที่ผู้ปุวยควรทราบ
3การพยาบาลระยะผ่าตัด
.การให้ยาระงับความรู้สึก
แม้ว่าพยาบาลจะไม่ได้เป็นผู้ให้ยาระงับความรู้สึก แต่พยาบาลต้องสามารถบอกผู้ปุวยและญาติได้ถึงการให้ยาระงับความรู้สึก เข้าใจการเตรียมผู้ปุวยก่อนได้รับยาระงับความรู้สึก ผลของการระงับความรู้สึก ตลอดจนวิธีการที่จะช่วยเหลือผู้ปุวยเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
โดยการสูดดมเอาแก๊ส หรือของเหลวระเหยเร็ว
โดยการฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การจัดท่านอน
หลักในการจัดท่านอนผ่าตัด กาจัดท่านอนพยาบาลต้องบอกอธิบายให้ผู้ปุวยเข้าใจถึงท่าส าหรับการผ่าตัด
และเหตุผลในการจัดท่านั้นๆ ควรจัดท่าด้วยความนุ่มนวล ระวังการเคลื่อนไหวร่างกายในท่าที่ผิดธรรมชาติมากเกินไป การเกิดรอยขีดข่วนจากเล็บพยาบาล ดูแลการเกิดการกดทับโดยเฉพาะบริเวณปุุมกระดูก การหมุนของข้อตามความสามารถ รวมทั้งการสัมผัสกับโลหะ
ท่าที่ใช้ในการผ่าตัด
ท่านอนหงาย (supine Position)
ท่าศีรษะต่ าปลายเท้าสูง (trendelenburg position)
ท่าศีรษะสูงปลายเท้าต่ า (reverse trendelenburg position)
ท่านอนกึ่งนั่ง (semi-fowler’s position)
ท่านั่ง (sitting position)
ท่าขึ้นขาหยั่ง (lithotomy position)
ท่านอนคว่ า (Prone position)
Jack-Knife position (Krase)
ท่านอนโก้งโค้ง (Knee-chest position )
ท่านอนตะแคงเข่าชิดอก (sim’s position)
ท่าส าหรับผ่าตัดไต (Kidney position)
ท่านอนตะแคง (lateral position)
5ปัญหาทางการพยาบาลผู้ปุวยที่ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด
1 ระบบทางเดินหายใจ
2 ระบบหัวใจและหลอดเลือด 3 ระบบประสาท 4 ความสมดุลของสารน้ าและอิเลคโตรลัยด์
5 ระบบทางเดินอาหาร
6 ระบบทางเดินปัสสาวะ
7 ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการอักเสบติดเชื้อที่แผลผ่าตัดเนื่องจากผิวหนังถูกทำลาย
8 ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด/และการสอดใส่ท่อช่วยหายใจทางปาก
9 มีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิกายตำ่
นางสาวเจนจิรา มายชะนะUDA6280049นักศึกษาชั้นปีที่2