Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2การพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม download, download (1), download (2),…
บทที่ 2การพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม
ความหมาย : :<3:
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด :check:
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด :star:
การเตรียมด้านจิตใจ
การเตรียมด้านร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับน้ าและอาหารที่พอเหมาะ
ภาวะสารน้ำและอิเลคโตรลัยด์
คำแนะนำและข้อมูลต่างๆที่ผู้ป่วยควรทราบ
การพักผ่อนและการออกก าลังกาย
การเตรียมผู้ป่วยในวันก่อนผ่าตัด และวันที่จะผ่าตัด :fire:
การขับถ่าย ถ้าเป็นการผ่าตัดเล็ก หรือการผ่าตัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่องท้อง แพทย์อาจสั่งหรือไม่สั่งให้สวนอุจจาระก็ได้ การผ่าตัดในช่องท้อง ลำไส้ และทวารหนักแพทย์จะสั่งให้สวนอุจจาระ เพื่อให้ลำไส้สะอาด เพื่อป้องกันไม่ให้อุจจาระไหลออกมาขณะผ่าตัดเนื่องจากกล้ามเนื้อหูรูดคลายตัวในขณะดมยาสลบ อาจทำให้เกิดการติดเชื้อของแผล อีกประการหนึ่งในระยะหลังผ่าตัดระยะแรกลำไส้จะมีการเคลื่อนไหวน้อย หากมีอุจจาระค้างอยู่ก็จะทำให้เกิดอาการท้องอืด และก่อให้เกิดอาการปวดแผล และหากท้องอืดมากะกระทบถึงระบบทางเดินหายใจ การหายใจผิดปกติ
:warning:
การเตรียมเฉพาะที่ เนื่องจากผิวหนังเป็นแหล่งที่มีเชื้อจุลินทรีย์มาก ดังนั้นจึงต้องมีการเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะทำผ่าตัดให้สะอาดและลดจำนวนจุลินทรีย์ การเตรียมผิวหนังควรเตรียมใกล้เวลาผ่าตัดมากที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อลดการเจริญเติบโตใหม่ของเชื้อโรค และการงอกของขน การโกนขนจะโกนเป็นวงกว้างกว่าบริเวณที่ทำผ่าตัด และระมัดระวังอย่าให้มีดโกนบาด เนื่องจากเป็นช่องทางทำให้เกิดการติดเชื้อ เมื่อโกนขนเรียบร้อยแล้วให้ทำความสะอาดด้วยน้ำสบู่ บางครั้งอาจต้องใช้น้ำยาระงับเชื้อและเมื่อเข้าห้องผ่าตัดจะมีการทำความสะอาดผิวหนังอีกขั้นหนึ่งด้วยยาระงับเชื้อ
:no_entry:
อาหารและน้ำดื่ม โดยทั่วไปวิธีการผ่าตัดโดยทำให้หมดความรู้สึกโดยการดมยาสลบกระเพาะอาหารจะต้องว่าง เพื่อป้องกันการอาเจียนแล้วสำลักเศษอาหารเข้าในปอดขณะดมยาดังนั้นจึงต้องงดอาหารก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด สำหรับอาหารเหลวใสอนุญาตให้ได้ 6 ชั่วโมง ก่อนการผ่าตัด ซึ่งเรื่องนี้จำเป็นต้องอธิบายเหตุผลที่ต้องงดน้ำและอาหารให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจ หากปากแห้งให้บ้วนปากบ่อยๆ ถ้าผู้ป่วยได้รับอาหารและน้ำเข้าไปในระยะเวลาที่ห้ามนี้ให้รายงานแพทย์ทราบทันที แพทย์อาจเลื่อนการผ่าตัดออกไป หรืออาจใส่สายเข้าไปในกระเพาะอาหาร เพื่อดูดเอาอาหารออก
:red_flag:
:recycle:แนวทางการเตรียมความสะอาดผิวหนังเพื่อเตรียมผ่าตัด
ควรประเมินผิวหนัง ตำแหน่งผ่าตัด หูด ผื่น หรือสภาพผิวอื่นๆ
การกำจัดขนหรือผม จะทำเฉพาะในรายที่จำเป็น
บริเวณผิวหนังที่จะผ่าตัดต้องสะอาดปราศจากสิ่งสกปรก
5.เตรียมของใช้ เช่น ถาดสี่เหลี่ยมบรรจุ มีดโกน กรรไกร ผ้าก๊อส กระดาษรองขน ผ้ายางกันเปื้อน สบู่
เลือกน้ำยาที่ทำให้ปราศจากเชื้อชนิดที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้กว้าง เหมาะสมกับสภาพผิวของผู้ป่วย
:!:การเตรียมผ่าตัดในรายฉุกเฉิน
ในรายที่จะต้องผ่าตัดฉุกเฉินพยาบาลจะมีเวลาจำกัดในการเตรียมผู้ปุวย หากผู้ปุวยตกเลือดอย่างรุนแรง หรือช็อค จะต้องเจาะเลือดตรวจดูความสมบูรณ์ ความเข้มข้นของเลือด หมู่เลือด และต้องให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำ การใส่สายยางจมูกถึงกระเพาะอาหาร ใส่สายสวนคาปัสสาวะ ท าความสะอาดผิวหนังอย่างรวดเร็ว ให้ยาน้ำก่อนการผ่าตัด การเซ็นชื่อในใบยินยอมผ่าตัด รวมทั้งติดตามญาติอย่างเร่งด่วน
:<3:
:forbidden:การเตรียมบนหอผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยไปห้องผ่าตัดแล้ว
เตรียมเตียง ปูเตียงแบบอีเธอร์ เปลี่ยนผ้าปู ปลอกหมอน ปูผ้าขวางเตียงตรงตำแหน่งที่ทำผ่าตัด
เตรียมเครื่องใช้ต่างๆที่จ าเป็นเครื่องช่วยหายใจ เสาแขวนน้ำเกลือ เครื่องดูดเสมหะ อุปกรณ์ให้ออกซิเจน
เตรียมตำแหน่งเตียงให้อยู่ในที่ที่เหมาะสม
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในกรณีฉุกเฉิน เช่น ยาฉุกเฉิน
:explode:การพยาบาลระยะผ่าตัด
การจัดท่านอน
ท่าศีรษะสูงปลายเท้าต่ำ (reverse trendelenburg position)
ท่านอนกึ่งนั่ง (semi-fowler’s position)
ท่าศีรษะต่ำปลายเท้าสูง (trendelenburg position)
ท่านั่ง (sitting position)
ท่านอนหงาย (supine Position)
ท่าขึ้นขาหยั่ง (lithotomy position)
ท่านอนคว่ำ (Prone position)
Jack-Knife position (Krase)
ท่านอนโก้งโค้ง (Knee-chest position )
ท่านอนตะแคงเข่าชิดอก (sim’s position)
ท่าสำหรับผ่าตัดไต (Kidney position)
ท่านอนตะแคง (lateral position)
ยาระงับความรู้สึก
:tada:การพยาบาลระยะหลังผ่าตัด
ผิวหนัง สีเล็บ ริมฝีปาก
ลักษณะของผิวหนัง เช่น ชื้น แห้ง อุ่นหรือเย็น
สัญญาณชีพ
ปฏิกิริยาโต้ตอบ การกระพริบตา เมื่อเขี่ยที่ขนตา การไอ การกลืน การกระตุ้นที่หลอดคอ
ระดับความรู้สึกตัว
สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ ชนิด จำนวน อัตราการหยด ผิวหนังบริเวณที่ให้สารน้ำ
ทางเดินหายใจโล่งสะดวกหรือไม่ มีท่อช่วยหายใจชนิดใดอยู่
สภาพของแผลผ่าตัด ผ้าปิดแผล ท่อระบายต่างๆ ตำแหน่ง การทำหน้าที่ของท่อระบาย
เวลาที่รับผู้ป่วยไว้
การให้ออกซิเจนตามความต้องการของผู้ป่วย ชนิด และการไหลของออกซิเจน
การขับถ่ายปัสสาวะได้เอง หรือมีสายสวนหรือหน้าท้องบริเวณหัวเหน่าโป่งตึงหรือไม่
วิธีการสอนให้ผู้ปุวยฝึกการหายใจ :green_cross:
ให้ผู้ป่วยค่อยๆหายใจออกยาวๆให้เต็มที่ กระดูกซี่โครงจะลดต่ำลง
ให้หายใจยาวๆลึกๆ ทั้งทางจมูกและปาก เพื่อปอดจะขยายได้เต็มที่ กลั้นหายใจไว้ ให้ผู้ปุวยนับ 1-5 แล้วจึงค่อยปล่อยลมหายใจออกทั้งทางจมูกและปาก
วางมือบนหน้าอกส่วนล่าง แล้วให้กำมือหลวมๆ ให้เล็บมือสัมผัสกับหน้าอกเพื่อจะได้รู้สึกถึงการ
เคลื่อนไหวของปอด
ทำซ้ำประมาณ 15 ครั้ง ในขณะที่ฝึกให้พักเป็นช่วงๆ เป็นระยะๆ หลังจากที่ฝึกหายใจ 5 ครั้งติดต่อกัน ให้ฝึกวันละ 2 ครั้งก่อนผ่าตัด
จัดท่านอนหงายศีรษะสูง
:smiley:วิธีการสอนให้ผู้ปุวยฝึกการไอ
ให้ผู้ป่วยหายใจเข้า ออก ตามวิธีที่ฝึกข้างต้นก่อน
ให้หายใจเข้าเต็มที่ อ้าปากเล็กน้อย
ให้ผู้ป่วยประสานมือทั้ง 2 ข้าง และกดเบาๆ เหนือบริเวณที่คาดว่าจะมีแผลผ่าตัด ทั้งนี้เพื่อช่วยทำให้แผลอยู่นิ่งระหว่างการไอ เพื่อลดอาการเจ็บขณะที่ไอ
ให้ผู้ป่วยไอแคกๆ 3-4 ครั้ง
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย
ให้ผู้ป่วยอ้าปาก หายใจลึกๆและไอแรงๆ อย่างเร็ว 1-2 ครั้ง เสมหะที่มีอยู่ในปอดออกมาได้
ปัญหาทางการพยาบาลที่พบบ่อยในผู้ป่วยหลังผ่าตัด :!!:
ปัญหาที่ 5 ระบบทางเดินอาหาร
ปัญหาที่ 6 ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัญหาที่ 4 ความสมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรลัยด์
ปัญหาที่ 7 ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการอักเสบติดเชื้อที่แผลผ่าตัดเนื่องจากผิวหนังถูกทำลาย
ปัญหาที่ 3 ระบบประสาท
ปัญหาที่ 8 ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด/และการสอดใส่ท่อช่วยหายใจทางปาก
ปัญหาที่ 2 ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ปัญหาที่ 9 มีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
ปัญหาที่ 1 ระบบทางเดินหายใจ