Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความหลากหลายของผู้เรียน - Coggle Diagram
ความหลากหลายของผู้เรียน
แบบการเรียนรู้และแบบการคิด
แบบการเรียนรู้
Learning Styles
ความพอใจในการเรียนรู้ ที่แตกต่างกันของผู้เรียน
ผู้เรียนมักจะเลือกแบบใดแบบหนึ่งอย่างเดียวตลอด
ผู้สอนไม่จำเป็นจะต้องตีตรา (Label) ให้ผู้เรียนมีรูปแบบการเรียนรู้ที่ตายตัว (ให้เรียนหลายๆวิธีด้วยก็ได้)
แบบการคิด
(Thinking Style หรือ แบบการรู้คิด Cognitive Style)
วิธีการที่บุคคุลใช้ในการคิด รับรู้ จำ แก้ปัญหา
คงเส้นคงวา คิดแบบเดิมเมื่อเจอปัญหาแบบเดิม
แบ่งเป็น 2 ประเภท
การคิดแบบพึ่งพาสนามแห่งการรับรู้( Field-Dependent Cognitive Type )
ตีความภาพรวม พิจารณาเป็นแบบเเผน เป็นเเพทเทิร์น ตัดสินใจได้รวดเร็ว
การคิดแบบเป็นอิสระจากสนามแห่งการรับรู้ (Field-Independent Type)
คิดวิเคราะห์เเยกเเยะก่อนที่จะตัดสินใจ จึงมีการไตร่ตรองมากเเละจึงใช้เวลามากกว่าเเบบพึ่งพา
พหุปัญญา (Multiple Intelligent)
มี 8 ด้าน
ภาษา
ไวต่อการรับรู้เสียง จังหวะ ความหมายของคำ และจำเเนกหน้าที่จองสิ่งต่างๆได้ดี
กวี นักเขียน
ดนตรี
แต่งทำนอง จังหวะของเพลง จำแนกเสียงเครื่องดนตรี เข้าถึงอารมณ์เพลง
นักแต่งเพลง นักดนตรี
มิติสัมพันธ์
เชื่อมโยง รูปร่าง รูปทรง ตำแหน่งที่ซับซ้อน ได้แม่นยำ
ผู้นำทาง นักสำรวจ ช่างแกะสลัก
ตรรกะและคณิตศาสตร์
เห็นความสัมพันธ์ของตัวเลข ตรรกะ มีความสามารถในการใช้เหตุผล
นักคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
การเคลื่อนไหว
มีความสามารถในการคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายได้ดี ร่วมถึงการใช้อุปกรณ์ต่างๆได้ดี
นักเต้น นักกีฬา
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
รู้กาละเทศะ รับรู้ตอบสนอง ต่ออารมณ์ความรู้สึกผู้อื่นได้ดี
นักบำบัด พนักงานขาย
ความเข้าใจในตนเอง
รู้เเละเข้าใจตนเอง เเยกเเยะจุดอ่อนจุดแข็งของความต้องการของตัวเองได้
ความนิยมธรรมชาติ
รู้จักพืช สัตว์ จำแนกประเภทของสิ่งต่างๆในธรรมชาติได้
ชาวไร่ ชาวสวน นักพฤกศาสตร์ นายพราน
โดย Howard Gardner
สังเกตุทหารผ่านศึกที่ป่วย ที่สมองตายเเต่ยังมีความสามารถบางอย่างอยู่ และ Project Zero ที่วาดรูปได้เชี่ยวชาญแต่เเต่งประโยคไม่ได้
ความพิเศษของผู้เรียน
ความบกพร่อง (Distability)
มีข้อจำกัดที่เป็นอุปสรรคของระบบการทำงาน ที่มีผลต่อศักยภาพต่างๆ
1.บกพร่องด้านการมองเห็น
2.บกพร่องด้านการได้ยิน
3.บกพร่องทางสติปัญญา
4.ปัญหาทางการเรียนรู้
5.บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
6.ปัญหาทางพฤติกรรมเเละอารมณ์
7.บกพร่องทางการสื่อความหมาย
8.ออทิสติก
9.เด็กที่มีความพิการซ้ำซ้อน
พรสวรรค์หรือความสามารถพิเศษ
1.ฉลาดเกินอายุ
2.มีรูปแบบการเรียนรู้ของตนเองที่มีประสิทธิภาพ
3.ความต้องการเป็นเลิศในสิ่งที่ถนัด
4.ประมวลสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว
สนับสนุนโดย
จัดห้องเรียนพิเศษ
เพิ่มคุณค่าและความลึกซึ้งให้เนื้อหา
เพศสภาพของผู้เรียน
1.เพศสภาพกับการรู้คิดและผลสัมฤทธิ์ที่แตกต่างกัน
จากผลการทดสอบ ชายจะเก่งการคำนวณ หญิงจะเก่งท่องจำเเละภาษา
2.ความลำเอียงของครูกับเพศสภาพของนักเรียน
ครูมีแนวโน้มฟังคำตอบจากเพศชายมากกว่าเพศหญิง
ครูมองว่านักเรียนชาย อยู่ไม่นิ่ง ซุกซน แต่ นักเรียนหญิงเรียบร้อย (โดยส่วนใหญ่) ถือเป็นการลำเอียงทางเพศสภาพหรือ Gender Bias
ความหลากหลายด้านอื่นๆ
ความหลากหลายด้านภาษา
การพูดได้สองภาษาอย่างคล่องเเคล่ว (ฺBilingualism)
ความหลากหลายด้านชาติพันธุ์
หากมีนักเรียนต่างสังคมต่างวัฒนธรรมในห้องเรียน เช่น การมีนักเรียนที่ไม่คล่องภาษาไทยเข้ามาในห้อง ครูควรรับการพูดให้ฟังง่าย ถ้านักเรียนมีสีหน้าที่ไม่เข้าใจควรปรับการสอนให้เป็นไปตามความถนัดของผู้เรียนเป็นหลักโดยให้สอดคล้องกับผู้เรียนด้วย