Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ธรรมชาติของพลังงานและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
ธรรมชาติของพลังงานและสิ่งแวดล้อม
พลังงาน (energy)
1.1 ความหมาย
พลังต่าง ๆ ที่นำมาใช้ให้เกิดเป็นงาน
1.2 แหล่งกำเนิดพลังงานตามธรรมชาติ
เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ น้ำ
1.3 การจำแนกประเภทของพลังงาน
1.3.1 การจำแนกตามลักษณะการทำงาน
1.3.2 การจำแนกตามรูปแบบของพลังงาน
1.3.3 การจำแนกตามแหล่งที่มาของพลังงาน
1.3.4 การจำแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์
1.3.5 การจำแนกตามลักษณะการผลิต
1.3.6 การจำแนกตามลักษณะทางการค้า
1.4 การเปลี่ยนรูปพลังงาน
1.4.1 กฎการอนุรักษ์พลังงาน หรือ กฎของอุณหพลศาสตร์(thermodynamics) ข้อที่หนึ่ง กำหนดไว้ว่า “การเปลี่ยนรูป ของพลังงานนี้ พลังงานยังคงมีอยู่เท่าเดิม ไม่มีการสูญหาย ไม่มีพลังงานเพิ่มขึ้นมาเองโดยปราศจากแหล่งที่มา”
1.4.2.1 โฟโตเคมิคัล (photochemical) คือ การเปลี่ยนรูปพลังงานรังสีเป็นพลังงานเคมี
1.4.2.2 อิเล็กโทรเคมิคัล (electrochemical) คือ การถ่ายพลังงานเคมีจากสารชนิดหนึ่งไปให้สารอีกชนิดหนึ่ง
1.4.2.3 เคมิคัล (chemical) คือ การเปลี่ยนแปลงทางเคมีโดยการเปลี่ยนองค์ประกอบของอะตอมในโมเลกุลขณะที่มี การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
1.4.2.4 เมคานิคัล (mechanical) คือ การเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานกล เช่น การหดตัวของกล้ามเนื้อ
ความเชื่อมโยงระหว่างพลังงานกับปัญหาสิ่งแวดล้อม
6.1 ระดับท้องถิ่นหรือระดับชุมชน มีขนาดความรุนแรงไม่มากนัก วิธีการแก้ไขไม่ยุ่งยาก มีผลกระทบในวงแคบ
6.2 ระดับประเทศหรือระดับภูมิภาค มีขนาดความรุนแรงและความซับซ้อนค่อนข้างมาก จึงต้องใช้วิธีการแก้ไขที่ ซับซ้อนกว่า และมีผลกระทบในวงกว้างกว่าปัญหาระดับท้องถิ่น
6.3 ระดับโลก เป็นปัญหาที่มีสาเหตุเริ่มต้นจากปัญหาระดับภูมิภาค สะสมและรวมกันเป็นเวลานาน เช่น การเกิด ภาวะโลกร้อน การสูญเสียชั้นโอโซน (Ozone) และการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
สิ่งแวดล้อม (Environment)
2.1 ความหมาย
สถานะและปัจจัยที่อยู่ล้อมรอบสิ่งมีชีวิต และมีความสัมพันธ์แนบแน่นต่อการดำรงความเป็น สิ่งมีชีวิต
2.2 ลักษณะของสิ่งมีชีวิต
2.2.1 มีโครงสร้างที่มีระบบระเบียบและซับซ้อน
2.2.2 มีกลไกสำหรับรักษาความเป็นปกติของความเป็นสิ่งมีชีวิต (metabolism) ได้ด้วยตนเอง
2.2.3 สืบทอดดำรงเผ่าพันธุ์ของตนเองได้ด้วยระบบการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
2.2.4 เติบโตและมีพัฒนาการตามระบบระเบียบที่พันธุกรรมของเผ่าพันธุ์กำหนด
2.2.5 มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
2.2.6 ตอบสนองต่อสิ่งเร้าทั้งจากภายในและภายนอก
2.3 ความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม
2.3.1 ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันในพื้นที่หนึ่งในช่วงเวลาหนึ่ง
2.3.2 สังคมชีวิต (community) หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตหลาย ๆ ชนิดในพื้นที่หนึ่งในช่วงเวลาหนึ่ง
2.3.3 ชีวนิเวศ (biome) หมายถึง สังคมชีวิตหลาย ๆ สังคมที่สัมพันธ์กัน อาศัยอยู่บนพื้นผิวโลกส่วนที่มีลักษณะของ
2.4 ระบบนิเวศ (Ecosystem)
2.4.1 สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
2.4.2 สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น
มนุษย์ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมเป็น แหล่งของปัจจัยในการดำรงชีวิตทั้งมวลของมนุษย์ ถึงแม้มนุษย์จะมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ แต่ถ้าสิ่งแวดล้อม เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่เอื้อต่อการดำรงชีวิตอย่างรวดเร็วกว่าประสิทธิภาพในการปรับตัวก็จะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อ มนุษย์
แหล่งพลังงานและความต้องการพลังงาน
ความต้องการใช้พลังงาน ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วแต่ศักยภาพในการผลิตไม่สมดุลกับความต้องการ แม้จะมีความพยายามใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ และพลังงานลมสำหรับการผลิตไฟฟ้า ซึ่งเป็นแนวทางที่เหมาะสมในระยะยาว แต่ก็ยังอยู่ในช่วงเริ่มต้น ก้าวหน้าช้า
ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับสิ่งแวดล้อม
3.1 กระบวนการถ่ายทอดพลังงาน
เมื่อใช้แล้วก็ต้องถ่ายเทสสารและพลังงานที่เสื่อมคุณภาพและไม่ต้องการออกสู่สิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา
3.2 กระบวนการหมุนเวียนของสสาร
3.2.1 กฎของการทนทาน (Law of Tolerance)
3.2.2 กฎน้อยที่สุด (Law of Minimum)
3.2.3 กฎการอนุรักษ์สสาร (Law of Conservation of Matter)
3.3 กระบวนการถ่ายทอดข้อมูล
มีปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม