Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 57 ปี U/D DM,HT, นางสาววรดา ภูสีดวง 601410030-7 SDN.4…
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 57 ปี
U/D DM,HT
Dx.Aute gastroenteritis (AGE) โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน
พยาธิสภาพ
-เกิดจากการติดเชื้ออะมีบาหรือเรียกว่า บิด มีตัวที่สำคัญ ได้แก่ shigellosis,salmonellosis, และ amoebiasis เป็นต้น
-พบได้บ่อยที่สุดเป็นพวกไวรัส ซึ่งทำให้เกิดอุจจาระร่วงแบบเฉียบพลัน นอกจากนี้อาจจะเกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่ปนเปื้อนมากับอาหารไม่ดิน
สาเหตุ
พันธุกรรมประมาณร้อยละ 15-20 ของผู้ป่วยโรคนี้จะมีญาติพี่น้องที่เป็นด้วย ทั้งนี้ขึ้นกับภาวะแวดล้อมและปัจจัยกระตุ้นอื่น ๆ ด้วย
อาหารเชื่อว่าเป็นปัจจัยกระตุ้นอยางหนึ่งโดยเฉพาะนมเช่นการแพ้นมวัวอาหารรสจัด
ปัจจัยทางจิตวิทยาความเครียดหรืออารมณ์ที่แปรปรวนทำให้ลำไส้ทำงานมากกว่าปกติ
การอุดกั้นของลำไส้ใหญ่ในโรค Hirsch sprung disease ซึ่งมีความผิดปกติของระบบประสาทในลำไส้ใหญ่ตั้งแต่กำเนิด
ภูมิต้านทานของร่างกายผิดปกติ
การติดเชื้อซึ่งเป็นได้ทั้งเชื้อแบคทีเรียไวรัสโปรโตซัวหรือพยาธิสภาพโดยส่วนใหญ่เชื่อ Rota Virus จะเป็นสาเหตุสําคัญของการเกิดอุจจาระร่วงแบบเฉียบพลัน
อาการแสดงสำคัญ
ถ่ายอุจจาระผิดปกติ โดยถ่ายเป็นน้ำน้ำปนเนื้อมูกหรือน้ำมูกและอาจมีอาการอื่นร่วม เช่น ไข้ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องอืด น้ำหนักลด ตัวบวมจากการสูญเสียโปรตีนทางลำ ไส้โลหิตจางจากการสูญเสียเลือดทางลำไส้
อาการอุจจาระร่วงแบ่งเป็น 2 ชนิด
Acute watery diarrhea ได้แก่ การถ่ายอุจจาระเป็นน้ำไม่มีเลือดปนอาจมีการอาเจียนและไข้ร่วมด้วย
Dysentery ได้แก่ การถ่ายอุจจาระที่เหลวมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่าปัญหาสำคัญ คือ อาการเบื่ออาหารน้ำหนักลดและเยื่อบล่าไส้ถูกท่าลายโดยเชื้อรุกล้ำผ่านทางผนังลำไส้ (invasive bacteria) สาเหตุในกลุ่มที่เป็นเฉียบพลันมักมาจากเชื้อ Shigella
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยหาสาเหตุโดยการตรวจอุจจาระ (Stool exam) เพาะเชื้อแบคทีเรียจากอุจจาระ (Stool Culture)
การวินิจฉัยความรุนแรงจากการขาดสารน้ำ
การวินิจฉัยความสมดุลของอิเล็กโตรไลท์และกรด-ด่าง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
อุจจาระร่วงเฉียบพลันเนื่องจากมีการติดเชื้อที่ระบบทางเดินอาหาร
บันทึกจำนวนครั้งของการขับถ่ายอุจจาระสังเกตลักษณะสีและการมีเลือดปน
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาฆ่าเชื้อตามแผลการรักษาของแพทย์ที่ระบบทางเดินอาหาร
ดูและให้ได้รับสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ทางหลอดเลือดดำทดแทนน้ำและอิเล็กโทรไลต์ที่เสียไปและดูแลให้ผู้ป่วยจิบน้ำเกลือแร่ (ORS) ตามแผนการรักษาของแพทย์
แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงอาหารที่มีกากใยมาก ๆ เช่นผักและผลไม้ในช่วงที่ยังมีอาการท้องร่วงและแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่ปรุงสุกสดใหม่
แนะนำให้ผู้ป่วยล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารทุกครั้งและล้างมือทุกครั้งหลับเข้าห้องน้ำหรือขับถ่าย
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ติดตามผลตรวจเลือดและตรวจหาเชื้อหลังการรักษา เพื่อประเมินแนวทางการรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยต่อไป
อ่อนเพลียเนื่องจากมีอาการอุจจาระร่วง
ประเมินอาการไม่สุขสบายอ่อนเพลียจากการขับถ่ายหลายครั้งต่อวัน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน Cannula 3LPM ตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้ออกซิเจนไปใช้ในการหายใจได้มากขึ้น
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงโดยเฉพาะอุณหภูมิร่างการเพราะหากมีไข้จะทำให้ร่างกายต้องการออกซิเจนเพิ่มมากขึ้น
จัดท่านอนศีรษะสูงเพื่อให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ดูแลให้ผู้ป่วยที่รับการพักผ่อนลดสิ่งแวดล้อมที่รบกวนการพักผ่อนของผู้ป่วย
ปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ประเมินความพร้อมในการเรียนรู้ของผู้ป่วย
อธิบายเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมเมื่อต้อกลับไปที่บ้าน เช่นเรื่องการกินควรล้างมือก่อนและหลังทานอหารควรทานอาหารที่ร้อนและปรุงสุกเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ระบบทางเดินอาหาร เป็นต้น
สอนให้ผู้ดูแลนวดหลังบริเวณปุ่มกระดูก เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตถ้าผิวหนังเกิดการแตกแห้งให้ทาน้ำมันหรือโลชั่นเพื่อช่วยให้ผิวเกิดความชุ่มขึ้นเพื่อป้องกันในเรื่องการเกิดแผลกดทับแก่ผู้ป่วย
ผู้ดูแลส่งเสริมให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองให้ได้มากที่สุดโดยมีผู้ดูแลคอยอยู่ข้างๆสังเกตพฤติกรรมอยู่ตลอดโดยไม่ปล่อยให้ผู้ป่วยอยู่เพียงลำพัง เพื่อป้องกันการทำพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมแล้วผู้ดูแลไม่ทันได้เห็น
5 เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลซักถามข้อสงสัย
หลังออกจากโรงพยาบาลกระตุ้นให้ผู้ป่วยปฏิบัติให้เร็วที่สุด
EMS รับจากบ้านเป็ด
CC : ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
V/S BP 207/89 mmHg PR 96 bpm RR 20 bpm BT 36.5 O2Sat 98 % GCS E4V5M6 Pain score 6 คะแนน
มาถึงโรงพยาบาลขอนแก่น
แพทย์ ER ตรวจ 20.30 น.
CC : ปวดท้อง 5 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI : ปวดท้องใต้ลิ้นปี่ บิดทั่วท้อง เวลาปวดเหนื่อยเพลีย วิงเวียน คลื่นไส้ อาเจียน 4-5 ครั้ง ถ่ายเหลว 3 ครั้ง ไม่มีไข้
แพทย์ตรวจร่างกาย Abdomen : Tenderness at Lt. side abdomen soft no rebound
แพทย์ Dx. Acute Gastroenteritis
การรักษาที่ให้ : 20.52 น.
5 more items...
นางสาววรดา ภูสีดวง 601410030-7 SDN.4