Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีภาวะผู้นำ - Coggle Diagram
ทฤษฎีภาวะผู้นำ
-
-
-
- ทฤษฎีตามสถานการณ์ (Situational or Contingency Leadership Theories)
-
3.1 ทฤษฎีภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของเฮอร์เซย์และบรานชาร์ดเป็นทฤษฎีที่ พัฒนาขึ้นโดยเฮอร์เซย์และแบลนชาร์ด จากแนวคิดของทฤษฏีสามมิติของเรดดิน และได้รับการ ปรับปรุงต่อมาอีกหลายครั้ง ทฤษฏีนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ทฤษฎีวงจรชีวิต” (Life-cycle theory)ทฤษฎีนี้มีแนวคิดพื้นฐานที่สำคัญคือ สถานการณ์ที่แตกต่างกันย่อมต้องการแบบของผู้นำที่ แตกต่างกัน ด้วยมุมมองดังกล่าวจึงสรุปว่าการเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพได้นั้นจำเป็นที่ผู้นำจะต้อง ปรับแบบภาวะผู้นำของตนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ต่าง ๆ เหล่านั้น (ซึ่งตรงกันข้ามกับแนวคิด ทฤษฎีสถานการณ์ของฟีดเลอร์ที่เชื่อว่าผู้นำจะมีประสิทธิผลได้ก็ต่อเมื่อต้องปรับสถานการณ์ที่ เป็นอยู่ให้สอดคล้องกับแบบภาวะผู้นำ) ซึ่งมีผลมาจากสถานการณ์ต่อพฤติกรรม 2 แบบของผู้นำ
- พฤติกรรมมุ่งงาน (Task Behavior) คือ ผู้นำที่กำหนดรายละเอียดและขอบเขตของงาน แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งจะบอกให้รู้ว่าผู้ใต้บังคับบัญชาต้องทำอะไร อย่างไร ที่ไหน และเสร็จเมื่อไร
- พฤติกรรมมุ่งความสัมพันธ์ (Relationship Behavior) คือผู้นำที่พยายามและรักษา ความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา โดยให้โอกาสในการติดต่อได้สะดวก พยายามสร้างบรรยากาศที่ เป็นกันเอง และให้การสนับสนุนอำนวยความสะดวกกับผู้ตามในทุก ๆ ด้าน ผู้นำแต่ละคนย่อมแสดงพฤติกรรมด้านการบริหารโดยผสมพฤติกรรมทั้งสองอย่างเข้าด้วยกัน ซึ่งก่อให้เกิดรูปแบบของการนำ หรือ สไตล์การนำของผู้บริหาร มีดังนี้
- แบบผู้นำแบบผู้บอกให้ทำ
- แบบผู้นำเป็นผู้ขายความคิดให้ทำ
- แบบผู้นำเป็นผู้มีส่วนร่วม
- แบบผู้นำเป็นผู้กระจายงาน
ความหมาย
กระบวนการที่ผู้ในใช้อิธิพลและอานาจที่มีของตน
กระตุ้นชี้นำให้บุคคลอื่นเกิดความเต็มใจ กระตือรือร้น
ในการปฎิบัติงานให้เป็นไปตามให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ขององค์กร หรือของกลุ่ม
-
-