Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแสวงหาข้อมูล และความรู้, บุษบา ผินนอก 623270011-7 เลขที่ 2…
การแสวงหาข้อมูล และความรู้
การแสวงหาข้อมูล
และความรู้
วิธีการแสวงหาความรู้ ของมนุษย์
การสอบถามจากผู้รู้ (Authority)
การศึกษาจากขนบธรรมเนียมประเพณี (Tradition)
การใช้ประสบการณ์ (Experience)
วิธีการอนุมาน
ข้อเท็จจริงใหญ่
ข้อเท็จจริงย่อย
ข้อสรุป (Conclusion)
วิธีการอุปมาน
วิธีการอุปมานแบบสมบูรณ์
วิธีการอุปมานแบบไม่สมบูรณ์
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method)
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการแสวงหาข้อมูลความรู้
การตั้งคำถามเพื่อการแสวงหา ข้อมูล
WHAT ทำอะไร
WHY ทำไมต้องทำ
WHEN ทำเมื่อไร
WHERE ทำที่ไหน
WHO ใครเป็นคนทำ
HOW ทำอย่างไร
แหล่งข้อมูลความรู้
แหล่งที่มา ของข้อมูล
บุคคล
สถาบัน
สื่อมวลชน
อินเตอร์เน็ต
ลักษณะรูปแบบ ของแหล่งข้อมูล
สิ่งตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ หนังสืออ้างอิง
สื่อไม่ตีพิมพ์ เช่น วีดีทัศน์ สไลด์ เทปเสียง หุ่นจำลอง ไมโครฟิล์ม
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์และ การศึกษา เพื่อสร้างความรู้
ความรู้
ความหมายของความรู้
คือสิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า ประสบการณ์ ความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะความเข้าใจ
ประเภทของความรู้
ความรู้ที่ฝังอยู่ในสมอง
ความรู้ที่เป็นทักษะ ประสบการณ์ ความคิดริเริ่ม พรสวรรค์
. ความรู้ที่ชัดแจ้ง
ความรู้ที่สามารถรวบรวมถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่นการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
การคิดวิเคราะห์
ความหมายของการคิดวิเคราะห์
เป็นความสามารถในการแยกแยะเพื่อหา ส่วนย่อย เหตุการณ์เรื่องราวหรือเนื้อหาต่างๆ
การคิดอย่างใคร่ครวญ ไตร่ตรอง โดยอธิบายขอบเขตการคิดวิเคราะห์
การแสวงหาข้อเท็จจริงด้วยการระบุ จำแนก
แยกแยะ ข้อมูลในสถานการณ์ที่เป็นแหล่งคิดวิเคราะห์
เป็นความสามารถในการจำแนกแจก แจงและแยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เป็นการระบุเรื่องหรือปัญหาจำแนกแยกแยะ เปรียบเทียบข้อมูลเพื่อจัดกลุ่มอย่างเป็นระบบ
ลักษณะของการคิดวิเคราะห์
เสงี่ยม โตรัตน์
เป็นการแสวงหาข้อมูลและการนำข้อมูลไปใช้
การคิดวิเคราะห์จะต้องเกี่ยวกับการใช้ทักษะอย่างต่อเนื่อง
ต้องมีทักษะที่จะต้องคำนึงถึงผลที่ยอมรับได้
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
การสังเกต
ข้อเท็จจริง
การตีความ
การตั้งข้อตกลงเบื้องต้น ทำให้สามารถมีความคิดเห็น
ความคิดเห็นต้องมีหลักและเหตุผล เพื่อพัฒนาข้อวิเคราะห์
องค์ประกอบของการคิดวิเคราะห์
การตีความ ความเข้าใจ และให้เหตุผล
การมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์
การช่างสังเกต สงสัย ช่างถาม ขอบเขตของคำถาม ยึดหลัก 5W 1H
การหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล (คำถาม) ค้นหาคำตอบ
กระบวนการคิดวิเคราะห์
ขั้นที่ 1 ระบุหรือทำความเข้าใจกับประเด็นปัญหา
ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
ขั้นที่ 3 พิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ขั้นที่ 4 การจัดข้อมูลเข้าเป็นระบบ
ขั้นที่ 5 ตั้งสมมติฐาน
ขั้นที่ 6 การสรุป
ขั้นที่ 7 การประเมินข้อสรุป
การสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์
คิดวิเคราะห์ เน้นคิดเชิงลึกจากเหตุไปสู่ผล เชื่อมโยงความสัมพันธ์ในเชิงเหตุผล เทคนิคที่ง่ายและเป็นที่นิยม คือ การใช้คำถาม 5W 1H
ไพรินทร์ เหมบุตร
ศึกษาข้อมูลหรือสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์
กำหนดวัตถุประสงค์
แยกแยะแจกแจง รายละเอียดสิ่งของที่ต้องการวิเคราะห์
ตรวจสอบโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบใหญ่และย่อย
นำเสนอข้อมูลการคิดวิเคราะห์
นำผลมาวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตามเป้าหมาย
Bloom
ระดับความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่าจากการศึกษาเทคนิคการสอนทางการคิดวิเคราะห์
บุษบา ผินนอก 623270011-7 เลขที่ 2 กลุ่มเรียนที่ 29 คณะ นิติศาสตร์
บุษบา ผินนอก 623270011-7 เลขที่ 2 กลุ่มเรียนที่ 29 คณะ นิติศาสตร์