Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Nursing care for Dementia older patient - Coggle Diagram
Nursing care for Dementia older patient
เครื่องมือคัดกรอง [
3
]
Montreal Cognitive Assessment (MoCA)
แบบคัดกรองภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุไทย (Dementia screening test:DST)
Thai Mental State Examination (TMSE)
MMSE-Thai (
1
)
prevention
หลีกเลี่ยงยา อาหารหรือกิจกรรมที่เป็นอันตรายต่อสมอง (
5
)(
6
)
ทำกิจกรรมสม่ำเสมอ งานอดิเรก งานบ้าน งานรื่นเริงบันเทิงต่าง ๆ การเล่นเกม การอ่านหนังสือ เย็บปักถักร้อย (
5
) (
1
) (
2
)
อาหารที่มีกรดโฟลิก และวิตามินบีสูง (ฺB6,B12) (
5
)
การควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือ DM, HT, DLP, การสูบบุหรี่และโรคอ้วน (
5
)(
6
) (
1
) (
2
)
การเข้าสังคม (Social engagement) (
5
)(
6
) (
1
)
การฝึกสติปัญญา ( Cognitive training)(
5
) (
1
)
การตรวจสุขภาพประจำปีและรักษาโรคประจำตัวสม่ำเสมอ
(
5
)
รับประทานอาหารแบบเมดิเตอร์เรเนียน (
1
) (
2
) (
5
)
รับประทานโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต ใยอาหาร ถั่วและธัญพืช (
1
)
หลีกเลี่ยงการใช้ฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนทดแทนในวัยหมดประจำเดือน (
5
)
ปัจจัยที่มีผล
ปรับเปลี่ยนได้
ภาวะซึมเศร้า (
2
)
ความเครียด (
2
)
การรับประทานอาหาร (
1
) (
2
) (
5
)
การออกกำลังกาย (
1
) (
2
) (
5
)
การสูบบุหรี่ (
1
) (
5
)
Obesity (
5
)
DM, HT, DLP (
5
)
Atherosclerosis (
5
)
ฮอล์โมนเพศหญิงทดแทน (High estrogen and progesterone levels) (
5
)
การดื่มแอลกอฮอล์ (
5
)
การได้รับอุบัติเหตุที่ศรีษะ (
5
)
ปรับเปลี่ยนไม่ได้
อายุ (
1
) (
5
)
พันธุกรรม (
1
) (
5
)
การผ่าเหล่าของยีนเฉพาะ เช่น คนที่เป็นดาวน์ซินโดรม(
5
)
treatment
การรักษาโดยใช้ยา (
5
)
ยารักษาโรคซึมเศร้า
ยารักษาโรคจิต
ยาลดความวิตกกังวล
ยาควบคุมอารมณ์
ยานอนหลับ
การรักษาแบบไม่ใช้ยา (
5
)
Reality orientation therapy
Memory training
Cognition-oriented
Skill training
Emotion-oriented
Reminiscence therapy
เกณฑ์วินิจฉัยตาม DSM-5 [
3
]
มีความผิดปกติอย่างน้อย1 ข้อ
มีการสูญเสียทักษะในการทํากิจกรรม(apraxia)
มีการสูญเสียการระลึกรู้ หรือการไม่รับรู้ในสิ่งที่เคยรู้มาก่อน (agnosia)
มีความผิดปกติของการใช้ภาษา(aphasia)
มีความผิดปกติในการบริหารจัดการ
(disturbance of executive function)
มีความผิดปกติที่เกิดขึ้นในข้อ 1 และข้อ 2มีอยู่ในระดับมากจนส่งผลกระทบทําให้ความสามารถทางสังคมและอาชีพลดลง
มีความผิดปกติของความจํา (memory impairment) โดยเฉพาะความจําระยะสั้น
มีความผิดปกติที่เกิดขึ้นและไม่ได้อยู่ในช่วงที่กําลังมีภาวะซึมเศร้าหรือสับสนเฉียบพลัน
มีความผิดปกติเกิดขึ้นโดยที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยสาเหตุอื่นใด