Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้สูงอายุในระยะท้ายของชีวิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้สูงอายุในระยะท้ายของชีวิต
ความหมายของผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ผู้ ป่ วยระยะสุดท้ ายที่ได้รับการวินิจฉัยการเจ็บป่ วยถึงขั ้นสูญเสียชีวิตภายใต้การรักษาด้วยยา การดูแลอย่างใกล้ชิด และพยากรณ์โรคว่าสามารถมีชีวิตอยู่ได้ประมาณ 6 เดือน หรือน้อยกว่า
องค์ประกอบที่สำคัญของ Palliative care
1.การควบคุมอาการไม่สุขสบาย (Symptom control)
2.การรักษาโรค (Disease management)
การดูแลด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ (Psychological and spiritual care)
การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุในระยะสุดท้ายใกล้ตาย
บทบาท
ความสามารถ (Competence)
2.ความเข้าใจ ความเห็นใจ (Concern)
ความรู้สึกสบาย (Comfort)
การติดต่อสื่อสาร (Communication)
การเยี่ยมของบุตรหลาน (Children)
ความสัมพันธ์ในครอบครัว (Cohesion)
ความร่าเริงแจ่มใส (Cheerfulness)
ความสมํ่าเสมอและต่อเนื่ อง (Consistency)
การมีจิตใจที่สงบ (Calmness of mind, Equanimity)
การพยาบาลของผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะใกล้ตาย
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
❑ ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular system)
❑ ระบบหายใจ (Respiratory system)
❑ ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal system)
❑ ระบบทางเดินอาหาร (Digestive system)
❑ ระบบการทำงานของไต (Renal system)
❑ ระบบประสาท (Neurologic system)
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
❑ มีความเครียด ความกังวล ความกลัวอยู่ในใจ
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
❑ ความตายและภาวะใกล้ตาย เป็นสิ่งที่มองว่าเป็นข้อห้ามในการน ามาพูดและอภิปรายกันใน
สังคม
❑ สิ่งที่ทำให้ความไม่สบายใจในเรื่องความตายบรรเทาลง คือ หลีกเลี่ยงการเข้าใกล้บุคคลที่อยู่
ในภาวะใกล้ตาย
❑สูงอายุที่อยู่ในภาวะใกล้ตายจึงถูกแยกออกจากสังคมและขาดการติดต่อ
❑ ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะใกล้ตายจึงมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นและสิ่งอื่นๆ ลดน้อยลง
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตวิญญาณ
❑ เมื่ออยู่ในภาวะใกล้ตายซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ จึงมี
ผลกระทบต่อจิตวิญญาณของผู้ป่วย
❑ โดยส่วนใหญ่เกิดภาวะบีบคั้นทางจิตวิญญาณ (Spiritual distress)
❑ หากผู้ป่ วยขาดสิ่งยึดเหนี่ยวภายในจิตใจ จะท าให้ไม่สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ ้นได้ จึงเกิดภาวะซึมเศร้าและท้อถอย
❑ ส าหรับผู้สูงอายุที่มีประสบการณ์ในภาวะใกล้ตายที่พบเห็นจากค าบอกเล่าของบุคคลอื่น และ
มีความเชื่อทางศาสนาและชีวิตหลังความตาย อาจจะมีความกลัวตายน้อยลง
การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุระยะสุดท้ายใกล้ตาย
การพยาบาลด้านร่างกาย
ปัญหาสุขภาพช่องปาก
❑ การประเมินสุขภาพของช่องปาก
❑ จัดให้ผู้ป่วยนอนตะแคง ดูดเอาเสมหะที่เหนียวข้นออก
❑ ป้องกันภาวะปากแห้งโดยการให้ได้รับน ้าอย่างเพียงพอ
❑ ลดอาการปวด โดยรับประทานยาแก้ปวด
อาการอ่อนล้า (Fatigue)
❑ ค้นหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และการรักษาที่ได้รับสนับสนุนด้านข้อมูลการรักษาอาการผิดปกติ
❑ รักษาสมดุลของการท ากิจกรรมและการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
❑ การนวด การผ่อนคลายกล้ามเนื ้อ การฝึกสมาธิ
เบื่ออาหาร
❑ ควรให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารปริมาณน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
❑ พยายามปรับเปลี่ยนชนิดรูปแบบ
❑ จัดสภาพแวดล้อมให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายผ่อนคลายและไม่มีกลิ่นรบกวน
คลื่นไส้ อาเจียน (Nausea and vomiting)
❑ ประเมินอาการและสาเหตุของการเกิด
❑ การปรับเปลี่ยนประเภทอาหารเป็นอาหารย่อยง่าย
❑ หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส ลดอาหารมัน
❑ หลีกเลี่ยงการดื่มนํ้าก่อนและหลังอาหาร
ภาวะขาดนํ้า (dehydration)
❑ หากผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง หรือความอยากอาหารลดลง อาจพิจารณาใส่สายยางให้อาหาร
❑ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Urinary incontinence)
❑ สอนผู้ป่วยและครอบครัวให้มีความรู้ถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้น
❑ การดูแลผิวหนังบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ต้องให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ
❑ ฝึกการขับถ่ายปัสสาวะให้เป็นเวลา
❑ บริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน โดยการฝึก Kegel exercise
❑ ในกรณีใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้ ต้องท าความสะอาดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
การดูแลแผลกดทับ
❑ ประเมินและขจัดสาเหตุที่ทำให้ผิวหนังถูกทำลาย
❑ ดูแลผิวหนังให้แห้ง ไม่เปียกชื ้น
❑ ทำความสะอาดร่างกาย หลีกเลี่ยงสบู่ที่ทำให้เกิดการระคายเคือง
ภาวะหายใจลำบากในผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Dyspnea and death rattle)
❑ การจัดท่านอนศีรษะสูงและนอนตะแคง
❑ จัดสภาพแวดล้อมในห้องให้มีการระบายอากาศที่ด
❑ ดูแลดูดเสมหะให้เมื่อจ าเป็นและควรท าด้วยความนุ่มนวล
ความปวด
❑ การให้ยาระงับปวด
อาการท้องผูก
❑ ควรกระตุ้นให้ มีการเคลื่อนไหวร่างกาย พลิกตะแคงตัว
การดูแลความสะอาดจมูกและตา
❑ ใช้สำลีชุดนํ้าเกลือพอหมาดๆเช็ดออก บริเวณตาให้ใช้ส าลีชุบน ้าเกลือหมาดๆ เช็ดทำความสะอาด
การพยาบาลด้านจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
การประเมินความต้องการและปัญหาของผู้ป่วย
พยาบาลควรมีบทบาทในการให้ข้อมูลที่เป็ นจริงและเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
การติดต่อสื่อสารกับผู้ป่ วยสูงอายุระยะสุดท้ายใกล้ตาย
จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นสัดส่วน
บทบาท
ความเชื่อทางพุทธศาสนา
การทำความดี ละเว้นความชั่ว และทำจิตใจให้ผ่องใส และเห็นว่าการเกิด
แก่ เจ็บ และตายเป็นทุกข์ ศาสนาพุทธ
ความเชื่อทางศาสนาคริสต์
ชีวิตมนุษย์มาจากพระเจ้า ตลอดช่วงการด าเนินชีวิต พระเจ้าจะให้ปัจจัยที่จะดำเนินชีวิตด้วยความดีไว้ให้
ความเชื่อทางศาสนาอิสลาม
มีความเชื่อว่าพระเจ้ า (อัลลอฮ์) เป็ นผู้ สร้างมนุษย์ ขึ้นในโลก โดย
กำหนดเวลาเกิด เวลาตายไว้ให้แล้ว มนุษย์มีหน้าที่ต้องเคารพ ศรัทธา
การเตรียมรับวาระสุดท้ายแห่งชีวิต
ความหมายของความตาย
เป็นการสิ้นสุดของชีวิต โดยหัวใจหยุดเต้นและการหายใจหยุดทำงาน
สิทธิการตาย
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ.2550 มาตรา 12“บุคคลีสิทธิทำหนังสือ
แสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายใน
วาระสุดท้ ายของชีวิตตน
วิธีการทำหนังสือแสดงเจตนา
1.เพื่อให้หนังสือแสดงเจตนา มีความชัดเจน ควรมีข้อมูลให้สามารถสื่อความหมายได้
หนังสือแสดงเจตนาอาจระบุชื่อบุคคลใกล้ชิดที่ผู้ทำหนังสือแสดงเจตนาให้ความ
ไว้วางใจ
ผู้ทำหนังสือแสดงเจตนาอาจเปลี่ยนแปลงหนังสือแสดงเจตนาได้ตลอดเวลา
วิธีการจัดการวาระสุดท้ายของชีวิต
รูปแบบการจัดการเผชิญความตายหรือการเตรียมตัวก่อนตาย
• การเตรียมตัวด้านร่างกาย (Physical preparation)
• การเตรียมตัวด้านจิตใจ (Psychological preparation)
• การเตรียมตัวด้านจิตวิญญาณ (Spiritual preparation)
• การเตรียมตัวด้านสังคม (Social preparation)
การเตรียมการที่ดีจะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลและเสียชีวิตไปอย่างที่ คาดหวัง ที่สำคัญที่สุดคือ การลดความทุกข์จากการทรมานจากการเจ็บป่วย