Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavior Theory), พฤติกรรมบำบัด (Behavior therapy) -…
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavior Theory)
แนวคิดของทฤษฎี
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
แนวคิดของพาร์พลอฟ
ความเชื่อ
เชื่อว่าการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตจำนวนมากเกิดจากการวางเงื่อนไข คือการตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต้องมีเงื่อนไข หรือมีการสร้างสถานการณ์ให้เกิดขึ้น
การทดลอง
การเรียนรู้ : อาหาร
ส่งผลให้สุนัขหลั่งน้ำลาย (แบบไม่มีเงื่อนไข)
ระหว่างเรียนรู้ : อาหาร และ เสียงกระดิ่ง
ส่งผลให้สุนัขหลังน้ำลาย
หลังเรียนรู้ : เสียงกระดิ่ง
ส่งผลให้สุนัขหลั่งน้ำลาย (แบบมีเงื่อนไข)
แนวคิดของวัตสัน
ความเชื่อ
เชื่อว่าพฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้
การทดลอง
ทดลองให้เด็กเล่นกับหนูขาวเมื่อเด็กกำลังจะจับหนูขาวทำการทดลองทำเสียงดังเด็กตกใจกลัวและร้องไห้ถ้าส่งผลให้เด็กกลัวหนูขาว
เชื่อว่าเมื่อสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมนั้นได้ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้หายไปได้
ทดลองนำหนูขาวมาให้เด็กดูอีกครั้งและให้แม่ปลอบว่าหนูตัวนี้ไม่ได้น่ากลัวเลยเด็กค่อยค่อยจับหนูสุดท้ายเด็กเล่นกับหนูและหายจากการกลัวหนูขาว
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบกระทำ
แนวคิดของบี.เอฟ.สกินเนอร์
ความเชื่อ
เชื่อว่าพฤติกรรมของบุคคลถูกควบคุมด้วยการให้รางวัลและถูกทำโทษ
การทำโทษ : แรงเสริมโดยใช้สิ่งเสริมแรงทางลบ
( negative reinforcement )
การให้รางวัล : แรงเสริมโดยใช้สิ่งเสริมแรงทางบวก
( positive reinforcement )
การทดลอง
ขั้นเตรียมการทดลอง
หนูเกิดการคุ้นเคยกับกล่อง
สร้างแรงขับให้หนูเกิดการหิวมากๆ
หนูแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้เร็วขึ้น
ขั้นทำการทดลอง
ปล่อยหนูเข้าไปในกล่อง
หนูวิ่งรอบกล่องและกัดแทะสิ่งต่างๆ
เท้าหนูแตะถูกคานเสียงดังแกร๊กและมีอาหารหล่นลงมา
ทุกครั้งที่หนูหิวจะใช้เท้ากดลงคานเสมอ
2 more items...
ขั้นทดลองการเรียนรู้
ปล่อยหนูเข้าไปในกล่องอีกครั้ง
หนูสามารถเดินไปกดคานได้เลยโดยไม่ต้องลองผิดลองถูกอีก
หนูเกิดการเรียนรู้แล้ว
สาเหตุการเจ็บป่วยทางจิตตามทฤษฎี
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของสกินเนอร์
หูถูกวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ
ได้รับเสริมแรง
ได้รับอาหาร
เกิดการเรียนรู้
เกิดจากการกระทำซ้ำ
รู้จักกดคาน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
การสั่นกระดิ่งเป็นสิ่งเร้าสุนัข
อาหารเป็นตัวกระตุ้น
น้ำลายไหล
เกิดการเรียนรู้ที่วางเงื่อนไข
สั่นกระดิ่งเพียงอย่างเดียว
น้ำลายไหล
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของวัตสัน
เด็กกลัวเสียงดัง
มีหนูขาวอยู่ตรงหน้า
เด็กกลัวหนูขาว
ไม่มีหนูขาวอยู่ตรงหน้า
ยังคงชอบเล่นกับหนูขาว
ทฤษฎีการบำบัดแบบเน้นเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม
มีความเชื่อไม่สมเหตุผล
เกิดความคิดที่ไม่ถูกต้อง
เกิดการตำหนิตนเอง
มีข้อบกพร่อง
ทฤษฎีทางปัญญาของเบค
มองสิ่งต่างๆในทางลบ
เกิดการเรียนรู้ที่บิดเบือน
เกิดภาวะซึมเศร้า
การบำบัด
การปรับความคิด (Cognitive Behavior Therapy)
บุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
มองตนเองและโลกภายนอกตลอดจนอนาคตในทางลบ
เกิดเป็นความคิดอัตโนมัติทางลบ
ส่งผลให้บุคคลเกิดภาวะซึมเศร้า
การแก้ไข
ปรับเปลี่ยนความคิดให้เป็นไปในทางบวก
ส่งผลต่อพฤติกรรมที่เหมาะสม
การปรับความเชื่อและพฤติกรรม (Rational Emotive Therapy)
เน้นช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาเข้าใจความมีเหตุผล ใช้เหตุผลเอาชนะอารมณ์
เชื่อว่ามนุษย์มีเหตุผลและอารมณ์
ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าส่วนใหญ่
มีความเชื่อเกี่ยวกับตัวเองผิดๆ
เชื่อว่าตนเป็นคนไม่ดี
เชื่อว่าตนไม่มีความสมารถ
อาจมีความเชื่อว่าตนดีเลิศเหนือกว่าคนอื่น
ประสบปัญหา ความผิดหวังเล็กน้อย
ไม่สามารถปรับตัว ปรับใจ ปรับความคิดของตนเองได้
เกิดภาวะซึมเศร้า
เหนื่อยหน่าย
ท้อแท้
สิ้นหวัง
สะสมความรู้สึกไม่ดีต่อตนเองเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
มีความคิดทางลบต่อตนเอง โดยไม่มีเหตุผล
ใช้อารมณ์จัดการกับปัญหา
ทฤษฎีนี้
ทำให้ได้รู้จักตนเองที่ถูกต้อง
มีความเชื่อเกี่ยวกับตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสม
ยอมรับตนเองได้ในสถานการณ์ที่เป็นจริง
ใช้เหตุผลจัดการกับตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม
การปรับเปลี่ยนความคิดความเชื่อและพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
เกิดจากความเชื่อผิดๆ
ความคิดในทางลบเกี่ยวกับตนเอง
สะสมมาจากประสบการณ์ในอดีต
บทบาทของพยาบาลในการบำบัดผู้ป่วย
บทบาทของพยาบาลในพฤติกรรมบำบัด 3 ประการ
การพิจารณาเลือกเทคนิคในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเหมาะสมแก่ผู้ป่วยแต่ละราย
การวางแผนใช้เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การร่วมมือร่วมใจและมีความสม่ำเสมอในการทำพฤติกรรมบำบัด
ผู้ป่วยที่ทำผิดระเบียบของชุมชน
พยาบาลมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การให้นั่งสมาธิเพื่อทำให้จิตใจสงบ
ทำความสะอาดรอบๆชุมชน
ตัดหญ้าที่สนาม
การบำบัดผู้ป่วยเชิงรู้คิด
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
ให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นในมุมมองและแนวคิดทางปัญญาตามความเหมาะสม
บทบาทของพยาบาล
ติดต่อญาติ นัดวัน เวลา สถานที่
จัดสถานที่ในการทำกลุ่ม ที่เงียบสงบ เป็นส่วนตัว
เยี่ยมครอบครัวเพื่อสังเกตดูสภาพแวดล้อมบรรยากาศของครอบครัว
พฤติกรรมบำบัด
(Behavior therapy)
เทคนิคการผ่อนคลายความวิตกกังวล
(Anxiety reduction Techniques )
การเผชิญความกลัวอย่างเป็นระบบ
(Systematic desensitization )
ให้พบกับสิ่งเร้าเรียงตามลำดับที่จัดไว้
( Densensitization Of Hierarchies)
เรียงลำดับสิ่งเร้าที่ทำให้เกิดความกลัว หรือความกังวลจากน้องสุดไปมากที่สุด
ขั้นตอนการผ่อนคลาย
(Training In Relaxation)
บำบัดลดความกังวล โดยการผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้างเนื้อ
ให้พบสิ่งเร้าตามลำดับที่จัดไว้
(Desensitization Procedure)
ผู้บำบัดช่วยผ่อนคลายลดความเครียดจนกว่าผู้บำบัดผ่อนคลาย
เปลี่ยนความกลัว วิตกกังวลมาเป็นความผ่อนคลาย
การฝึกการหายใจ
(Breathing Exercise)
ร่างกายได้รับออกซิเจนเพิ่มขึ้น ทำให้สดชื่นและผ่อนคลายความเครียด
การขจัดพฤตอกรรมตอบสนอง
(Response Prevention)
พฤติกรรมบางอย่างลดลงด้วยการขจัดสิ่งเร้าที่ช่วยเสริมหรือกระตุ้นการเกิดพฤติกรรมไม่พึ่งประสงค์
การฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
(Muscle relaxation)
ลดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่เกิดจากความวิตกกังวล
การหยุดความคิด
(Thought stopping)
ควรใช้เมื่อปัญหานั้นอยู่ที่ระบบความคิดของบุคคลเป็นหลัก
การใช้ตัวแบบ
(Modeling)
การเลียนแบบหรือทำตามพฤติกรรม เพื่อลดหรือเพิ่มพฤติกรรม เสริมสร้างพฤติกรรมใหม่หรือปรับปรุงพฤติกรรมให้ดีขึ้น
การหยุดยั้ง
(Extinction)
การระงับแรงเสริมทางบวกที่เคยได้รับ
เทคนิคการลดความต้องการ
Appetite Reduc
การลงโทษ
(Punishment)
ใช้บำบัดผู้มีพฤติกรมย้ำทำและผู้กระทำและผู้กระทำความผิดกฎหมายหรือกฎของสังคม
การนำออกไป
(Time out)
การระงับโอกาสที่บุคคลจะได้รับการเสริมแรงทางบวก
การปรับสินไหม
(Response cost)
เงินค่าปรับ แต้มคะแนน บริจาคให้องค์กรการกุศล
ลดโอกาสเกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
การเสริมแรงทางลบ
(Negative reinforcememt)
ควบคุมด้วยการให้สิ่งที่ไม่พึงพอใจ โดยเชื่อว่าถ้าไม่ได้อะไรตอบแทนหรือได้รับความทุกข์พฤติกรรมนั้นจะเกิดลดลง
การพัฒนาพฤติกรรมใหม่
Development of new behavior
การฝึกทักษะทางสังคม
(Social skill training)
ทักษะการสื่อสาร
พฤติกรรมแยกตัว
ให้ความสำคัญกับบุคคลอื่น
การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออก
(Assertive training)
การแสดงความพอใจและชื่นชมบุคคลอื่น
ความรู้สึกเข้าใจบุคคลอื่นอย่างแท้จริง
แสดงความรู้สึก อารมณ์ทางลบให้น้อยที่สุด
การแลกเปลี่ยนเชิงเศรษฐศาสตร์
(Token economy)
การเรียนรู้แบบเสริมแรง
เด็กที่ตั้งใจเรียนจะได้รับแต้มสะสมแล้วนำมาแลกตั๋วหนัง
ลดพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์