Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สภาพสังคมในสมัยอยุธยา - Coggle Diagram
สภาพสังคมในสมัยอยุธยา
- พระมหากษัตริย์ พระราชฐานะและอำนาจของพระมหากษัตริย์ ในสมัยอยุธยา
-
-
-
-
สถาบันที่มีอิทธิพลต่อสังคมในสมัยอยุธยาเป็นอันมาก ได้แก่ พระพุธะศาสนา เพราะเป็นศาสนาของทุกชนชั้น และเป็นเครื่องจรรโลงเอกภาพของสังคม วัดในพระพุทธศาสนา จึงมีความสำคัญดังนี้
-
-
-
-
- ขุนนาง มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือพระเจ้าแผ่นดิน ในการปกครองประเทศ โดยพระเจ้าแผ่นดินพระราชทานศักดินา ให้เป็นเครื่องตอบแทนอำนาจ และฐานะของขุนนาง มีดังนี้
-
2.ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงออกกฎหมายศักดินา จัดทำเนียบขันนาง ข้าราชการ ซึ่งประกอบด้วย ตำแหน่ง ยศ ราชทินนาม
3.ขุนนางที่มีไพร่พลมาก จะเป็นฐานแห่งกำลังและอำนายที่สำคัญปัญหาความขัดแย้งในกลุ่มขุนนางและเจ้านายจึงเกิดขึ้นบ่อยครั้ง
- ไพร่ หมายถึงสามัญชนทั่วไป นับว่าเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
ไพร่หลวง หมายถึง ไพร่ที่ขึ้นทะเบียนสังกัดต่อรัฐ คือ องค์พระมหากษัตริย์ ต้องมาเข้าเวรเพื่อรับใช้ราชการปีละ 6 เดือน
-
-
- พระสงฆ์ พระสงฆ์ไม่จำกัดชนชั้นใดชนชั้นหนึ่ง แต่เป็นที่เคารพของคนทุกชนชั้น บทบาทและความสำคัญของพระสงฆ์ มีดังนี้
-
-
-
สังคมไทยในสมัยอยุธยา ประกอบด้วยบุคคล 5 กลุ่ม ได้แก่ พระมหากษัตริย์ และเจ้านายชั้นสูง ขุนนาง ไพร่ ทาสและผู้ที่ได้รับการยกย่องเลื่อมใสจากคนทุกกลุ่มคือพระสงฆ์
ลักษณะการแบ่งชนชั้นในสังคมไทยมีลักษณะไม่ตายตัวบุคคลอาจจะเสื่อมตำแหน่งฐานะทางสังคมของตนได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรู้ความสามารถ และคุณประโยชน์ที่มีต่อประเทศชาติ
- เจ้านาย หมายถึง พระราชวงศ์ของพระมหากษัตริย์ มีสกุลยศลดหลั่น ตามลำดับ คือ เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า ฯลฯ
-
- ทาส เป็นชนชั้นที่ต่ำที่สุดในสังคม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
-
-