Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการบริหารการพยาบาล, นางสาวพิไลวรรณ คำภีระ 60440101007 - Coggle…
เทคนิคการบริหารการพยาบาล
การมอบหมายงานและตรวจเยี่ยมทางการพยาบาล
การมอบหมายงาน
การแบ่งงาน (Allocation) ให้กับผู้ปฏิบัติงาน โดยพิจารณาจากปริมาณงาน เวลา ลักษณะงาน ความเหมาะสมของงานให้สอดคล้องเหมาะสมกับศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน
การตรวจเยี่ยมทางการพยาบาล
เพื่อเป็นการประกันคุณภาพการพยาบาล
เป็นการรักษาการติดต่อสัมพันธ์กับบุคลากรทุกคนที่ทำหน้าที่ ในการดูแลผู้ป่วย
เป็นโอกาสในการใช้การสังเกตความสามารถในการทำงาน (Work Performance) โดยมุ่งค้นหาจุดแข็ง (Strength) และอ่อน (Weakness) ของบุคลากร
ค้นหาข้อมูลจากผู้ป่วยและครอบครัวหาความต้องการและความคาดหวังในบริการพยาบาลของผู้รับบริการ
เป็นการกระตุ้นส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรขณะปฏิบัติงาน
การนิเทศและการประเมิน ผลทางการพยาบาล
การนิเทศ
หลักการนิเทศการพยาบาล
วัตถุประสงค์การนิเทศ
เป็นการช่วยเหลือบุคลากรพยาบาลในการเพิ่มคุณภาพของการพยาบาล
เพื่อพัฒนาความสามารถสูงสุดที่บุคคลมีอยู่ (High Potential)
เพื่อสามารถสนองตอบความต้องการของผู้ใช้บริการ (Health Care Consumer)
เพื่อการปรับปรุงวิธีการทำงาน
เพื่อดูแลทรัพยากรทางการพยาบาลทุกประเภท
ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบริการพยาบาล
องค์ประกอบของการนิเทศ
การนิเทศงานทางวิชาการ
การนิเทศทางการบริหารและการจัดการ
คุณสมบัติผู้นิเทศ
ทักษะการเป็นผู้นำ
การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
การรู้จักใช้กระบวนการกลุ่ม
การบริหารบุคคล
การประเมินผล
การประเมินผลทางการพยาบาล
ปรับปรุงการบริหารการพยาบาล
บ่งชี้สมรรถภาพของผู้ปฏิบัติงานเพื่อเป็นการจูงใจ
ให้ผู้ใช้บริการได้รับการพยาบาลที่สมบูรณ์แบบ
ผู้ใช้บริการเกิดความมั่นใจในการรักษาพยาบาล
การเปลี่ยนแปลงและความขัดแย้ง
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงโดยไม่มีการวางแผน
เป็นสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นโดยทันทีทันใด เนื่องจากสิ่ง
กระตุ้นภายนอกและภายใน มักจะได้รับการต่อต้าน ไม่เป็นมิตร
การเปลี่ยนแปลงโดยการวางแผน
เป็นการตั้งใจจะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยผ่านการคิดพิจารณาอย่าง
รอบคอบ
ความขัดแย้ง
ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล (Intrapersonal Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล (Interpersonal Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (Intergroup Conflict)
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารงาน
ความหมายและพัฒนาการของมนุษยสัมพันธ์
ความหมาย
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ที่มุ่งให้เกิดความเข้าใจอันดี
ต่อกัน อันจะนำมาซึ่งความร่วมมือ ประสานงานกันในการดำเนิน กิจการต่าง ๆอย่างได้ผลและมีประสิทธิภาพ
พัฒนาการของมนุษยสัมพันธ์
มนุษยสัมพันธ์เป็นสิ่งที่สามารถฝึกฝนได้ เพราะมนุษย์สัมพันธ์เป็นทักษะประการหนึ่งในทางสังคมที่จำเป็นจึงควรสร้างให้เกิดตั้งแต่วัยเด็ก จนเป็นวัยผู้ใหญ่ที่สามารถปรับตัวได้ดี
องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์
องค์ประกอบเกี่ยวกับการรู้จักตน (Self)
ตนตามอุดมคติ(Ideal Self)
ตนที่ตัวเองรับรู้ และคนอื่นรับรู้ (Percieved Self)
ตนที่เป็นจริง (Real Self)
องค์ประกอบเกี่ยวกับการเข้าใจบุคคลอื่น
Physiological Needs
Safety Needs
Love Needs
Esteem Needs
Self Actualization
การปรับตนและสร้างมนุษยสัมพันธ์
การพัฒนาตน
การพัฒนาลักษณะภายนอก เช่น การแต่งกาย
การพัฒนาด้านจิตใจ
การสร้างมนุษยสัมพันธ์
ศิลปะในการพูดคุยหรือการสนทนา
บุคลิกภาพ
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการพยาบาล
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
1.การตัดสินใจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานหรือบุคคลต้องตั้งอยู่บนหลัก
เหตุผล
รู้วิธีเสริมกำลังใจ
รู้จักให้รางวัล การยกย่องชมเชย
ชี้แจงความเคลื่อนไหวของงานให้ทราบ
รักษาผลประโยชน์ของผู้ใต้บังคับบัญชา
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
1.ไม่ควรรอเวลาให้เพื่อนมาทำความรู้จักหรือทักทายเราก่อน ควรจะ
ติดต่อเพื่อนก่อน
มีความจริงใจต่อเพื่อน
หลีกเลี่ยงการนินทา
หลีกเลี่ยงการทำตัวเหนือกว่าทุกคน
อย่าสะโทษความผิดให้เพื่อน
ให้ความร่วมมือในการงานของเพื่อน
ฟังความคิดเห็นของเพื่อน
มีความเสมอต้นเสมอปลาย
ใจกว้างกับเพื่อนพอประมาณ
พบปะสังสรรค์ตามสมควรการพบปะสังสรรค์กันบ้าง
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา
ทำงานให้ดีให้ถูกใจผู้บังคับบัญชา ต้องพยามทำงานอย่างรอบคอบ
หลีกเลี่ยงการสอพลอ การสอพลอเป็นการทำงานเอาหน้า ไม่ทำงานอย่างจริงจัง
หาทางให้ความคิดของผู้บังคับบัญชาประสบผลสำเร็จ
ให้ความเคารพนับถือตามฐานะ
อย่าก่อศัตรูกับเพื่อนร่วมงาน
เรียนรู้นิสัยการทำงานของผู้บังคับบัญชา
อย่านินทาผู้บังคับบัญชา
อย่าโกรธผู้บังคับบัญชา เมื่อความคิดเห็นไม่ตรงกัน
อย่าบ่นถึงความยากลำบากในการปฏิบัติงานต่อหน้าผู้บังคับบัญชา
ประเมินตนเองเป็นระยะ ๆ
การจูงใจและความพึงพอใจในงาน
การจูงใจ
แรงที่ผลักดันให้เกิดพฤติกรรมที่
จะกระทำการใด ๆ ให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
ความพึงพอใจในงาน
ภาวะอารมณ์ทางบวกที่มีต่องานที่ทำ ซึ่งเป็นผลจากการรับรู้ใน
ผลงานของบุคคล หรือเป็นผลจากการประเมินประสบการณ์ในงาน
การจูงใจกับวิชาชีพพยาบาล
การจูงใจทำให้บุคลากรพยาบาล มีขวัญและกำลังใจที่ดีมีความพึงพอใจในการ
ปฏิบัติงาน ทำให้ปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบเสียสละ อดทน และพยายามทำงานเพื่อให้ได้ผลดีที่สุด
การสื่อสารภายในองค์กร
จุดมุ่งหมายของการสื่อสารในการบริหารพยาบาล
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน
เป็นเครื่องมือช่วยสร้างความสัมพันธ
การมอบหมายหน้าที่ และความรับผิดชอบเป็นไปอย่างมีระบบ
เป็นเครื่องมือในการควบคุมการปฏิบัติงานตามขอบเขต
ช่วยให้เกิดการพัฒนาและการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
ประเภทของการสื่อสารในองค์กร
ช่องทางการติดต่อสื่อสารที่เป็นทางการ
ช่องทางการติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นทางการ
วิธีการสื่อสารในการบริหารพยาบาล
การสื่อสารโดยวิธีเขียน
การสื่อสารแบบใช้คำพูด
นางสาวพิไลวรรณ คำภีระ 60440101007