Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ไทย - Coggle Diagram
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ไทย
ด้านศิลปกรรม
ศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรี
การออกเเบบพระพุทธรูปปางลีลา
เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรเเละบุกเบิกการสอนศิลปะในไทย
ออกแบบปั้นและควบคุมการหล่อพระราชานุสาวรีย์และอนุสาวรีย์ที่สำคัญ
นายริโกลีจิตรกรชาวอิตาลี
ภาพจิตรกรรมเพดานพระที่นั่งพุนตสมาคม
ภาพจิตรกรรมพระอุโบสถวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร
นายคาร์ลดอริงสถาปนิกชาวเยอรมัน
ภาพจิตรกรรมพระอุโบสถ
วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร
ชาวต่างชาติที่บันทึกหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสังคมไทย
เฮนรีเบอร์นีย์
เดินทางมาเจรจาทางการทูตสมัยรัชกาลที่ 3
ผลงาน
เอกสารเบอร์นีย์. เป็นข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอังกฤษ
พระสังฆราชปาลเลอกัวซ์
เข้ามาเผยแผ่ศาสนาในสมัยรัชกาลที่ 3
ผลงาน
เล่าเรื่องกรุงสยาม. เป็นเรื่องเกี่ยวกับสภาพเศรฐกิจและสังคมมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
นิโกลาส์ แชรเวส
เข้ามาสัมพันธไมตรีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ผลงานประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม
ให้ข้อมูลด้านภูมิศาสตร์ขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย
และศาสนา
ซิมงเตอลาลูแบร์
เข้ามาสัมพันธไมตรีในสมัยสมเด็จพระนารายน์มหาราช
ผลงาน, จดหมายเหตุลาลูแบร์ราชอาณาจักรสยาม
ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพสังคมเศรษฐกิจวิถีชีวิต
ราชสำนักไทยในสมัยอยุธยา
ฟานฟลีตหรือวันวลิต
เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
บันทึกเกี่ยวกับสภาพสังคม
บันทึกเกี่ยวกับเศรษฐกิจและการเมืองไทยสมัยยุธยา
ผลงาน
จดหมายเหตุฟานฟลีต
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
เซอร์จอห์นเบาว์ริ่ง
เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีสมัยต้นรัชกาลที่4
ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม ผลงาน
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยในอดีตด้านภูมิศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ขนบธรรมเนียมประเพณี
เศรษฐกิจ
ภาษา
ศาสนา
ด้านการแพทย์
จอร์จบีแมคฟาร์แลนด์ (George B. McFarland)
เป็นแพทย์ด้านการทำฟัน
เป็นอาจารย์สอนนักเรียนแพทย์ฝึกหัดชาวไทย
.
เปิดคลินิกรักษาโรคฟัน
มีบรรดาศักดิ์เป็นพระอาจวิทยาคม
หมอเฮาส์ (Dr.Samuel R.House)
เป็นมิชชันนารีชาวอเมริกัน
รักษาคนไข้ในช่วงที่เกิดอหิวาตกโรคระบาด
เป็นแพทย์คนแรกที่นำวิธีการผ่าตัดโดยใช้ยาสลบมาใช้ในประเทศ
หมอบรัดเลย์ (Dan Beach Bradley)
เป็นมิชชันนารีชาวอเมริกันรุ่นแรก ๆ เดินทางเข้ามาเผยแผ่ศาสนาในสมัยรัชกาลที่3
นำการผ่าตัดเข้ามาใช้ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก
เผยแพร่เรื่องการปลูกฝีและฉีดวัคซีน
ด้านการศึกษา
ดร. ซามูแอลอาร์, เฮาส์ (Samuel R.House)
ศาสตราจารย์แตีเวนทูน (Steven Mattoon)
เปิดโรงเรียนสำหรับเด็กชายที่สำเหร่
ต่อมาได้พัฒนาเป็นโรงเรียนชายแห่งแรกของไทยโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนในปัจจุบัน
นางแฮร์เรียตเฮาส์ (Harriet House)
เปิดโรงเรียนสำหรับนักเรียนหญิงแห่งแรกในประเทศไทยชื่อโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง
ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
บาทหลวงเอมิลออกุสต์กอลมเบิร์ต (Emile August Golmbert)
ชาวฝรั่งเศสได้ก่อตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญ
เจษฎาจารย์ฟ. ฮีแลร์
เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดการศึกษา
ทำให้มีการสร้างโรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยคณะการตาเซนต์คาเบรียลหลายแห่ง