Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ไทย - Coggle Diagram
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ไทย
กลุ่มพระมเหสีเทวีของ ร.๕
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ
ด้านการศึกษา
จัดตั้งโรงเรียนสตรีขึ้นหลายแห่งทั้งในกรุงเทพฯและหัวเมือง
ด้านสาธารณสุขและการแพทย์
ก่อตั้งโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์ขึ้นในโรงพยาบาลศิริราชเพื่อผลิตนางพยาบาลผดุงครรภ์และโปรดให้จัดสร้างโรงพยาบาลปัญจมาธิราชอุทิศที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยานอกจากนี้ยังทรงริเริ่มการก่อตั้งสภาอุณาโลมแดงมีท่านหญิงเปลี่ยนสภาวงศ์เป็นผู้ดําเนินการ
ด้านการปกครอง
พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นผู้สําเร็จราชการแผ่นดินในช่วงเวลานี้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสําคัญได้แก่บัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพิกัดภาษีภายในพระราชบัญญัติประกาศจัดการป้องกันการเพิ่มเติม
สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี
จัดตั้งโรงพยาบาลสมเด็จณศรีราชาการสอนหนังสือและอาชีพแก่ชาวบ้านโดยเฉพาะการทอผ้าทั้งยังทรงนําช่างทอมาเปิดโรงทอผ้าในพระราชวังดุสิต
สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี
ดํารงตําแหน่งเลขานุการฝ่ายในและยังมีงานพระนิพนธ์สุขุมาลนิพนธ์รวมบทร้อยกรองส่วนพระองค์และทรงจัดให้วังบางขุนพรหมเป็นแหล่งศึกษาที่ทันสมัยสําหรับสตรีสูงศักดิ์ในสมัยนั้นนอกจากนี้ยังทรงสร้างอาคารเรียนให้แก่วัดพิชยญาติการามวรวิหาร
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์
พระราชทรัพย์จัดสร้างโรงเลี้ยงเด็กกําพร้าและสงเคราะห์ผู้ยากจน
พระราชชายาเจ้าดารารัศมี
นําวัฒนธรรมสยามทั้งเก่าและใหม่ไปปรับใช้กับวัฒนธรรมล้านนาพระราชกรณียกิจสําคัญของพระองค์คือเป็นผู้เชื่อมความสัมพันธ์และวัฒนธรรมของอินเดียทั้งสองให้เป็นเอกภาพ
เจ้าฉอมมารดาแพ
สนองพระราโชบายภายในการปรับปรุงภาพลักษณ์แก้ไขขนบธรรมเนียมต่างๆให้ทันสมัยและปฏิบัติสืบต่อมาจนถึงยุคพระนิยมในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2
บันทึกหลักฐานถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
บทบาททางการเมือง
บทบาทในการรบและการทำสงคราม
สมเด็จพระสุริโยทัย
เสด็จพระสวามีในการป้องกันบ้านเมืองจากศึกพม่าพระองค์เกรงว่าพระสวามีจะเป็นอันตรายจึงใส่ช้างเข้าขวางไว้จึงถูกพระเจ้าแปรฟันด้วยพระแสงของ้าวจนสิ้นพระชนม์
ร.๑
คุณหญิงจันและคุณนกน้องสาวหน้าประชาชนต่อต้านพม่าที่มาตีเมืองถลางในคราวสงครามเก้าทัพจะได้รับชัยชนะ
สตรีสูงศักดิ์ล้านนา
พระมหาเทวีผู้เป็นชนนีของพระเจ้าติโลกราชได้นําไพร่พลเข้าต่อสู้กับข้าศึกทั้งๆที่กําลังตั้งครรภ์อยู่
ร.๓
คุณหญิงโมวางแผนและต่อสู้กับกองทัพเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์
บทบาทในการเสริมสร้างสัมพันธไมตรีกับเครือญาติ
เมื่อตกอยู่ภายใต้อาณาจักรอื่น
การสร้างสัมพันธไมตรีจะเป็นการถวายพระราชธิดาเพื่อแสดงถึงความจงรักภักดี
การแสวงหาพันธมิตร
สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงพระราชทานเทพกระษัตรีและพระแก้วฟ้าให้ไปอภิเษกกับสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชพระเจ้ากรุงล้านช้าง
เมื่อมีการเปลี่ยนผู้นำ
ประสานสัมพันธ์ไมตรีผ่านการแต่งงานระหว่างผู้นําใหม่และสตรีในราชวงศ์เก่าเพื่อให้เกิดการยอมรับในอํานาจเพื่อสร้างความชอบธรรมในการสืบราชบัลลังก์
การเสริมสร้างสัมพันธไมตรี
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิพระราชทานพระราชธิดาพระวิสุทธิกษัตรีให้แก่ขุนพิเรนทรเทพเพื่อสร้างความจงรักภักดีและความมั่นคงของบัลลังก์
บทบาทด้านการเมืองการปกครอง
พระนางมหาเทวีสุโขทัย
ปกครองเมืองสองแคว พิษณุโลก นอกจากนี้พระนางยังทรงอยู่ในฐานะพระเทวีของคุณหลวงพะงั่วด้วย
พระมหาเทวีล้านนา
มหาเทวีโลกจุลกะเทวีผลักดันให้พระราชโอรสคือพระเจ้าสามฝั่งแกนขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองเมืองเชียงใหม่ในขณะที่มีพระชนมายุได้เพียง 13 พรรษา
พระนางจามเทวี
ได้รับการเชื้อเชิญให้มาปกครองเมืองหริภุญชัยที่สร้างขึ้นมาใหม่ในสมัยของพระนางพระนางได้ให้ความอุปถัมภ์ทํานุบํารุงกิจการทางพระพุทธศาสนาดังปรากฏหลักฐานคือศาสนสถานต่างๆในเมืองลําพูนที่ยังคงอยู่ถึงปัจจุบัน
แม่ศรีสุดาจันทร์
ดํารงตําแหน่งผู้สําเร็จราชการแผ่นดินของพระยอดฟ้าพระราชโอรสที่ยังทรงเป็นยุวกษัตริย์พระนางได้ขึ้นปกครองกรุงศรีอยุธยาคู่กับขุนวรวงศาธิราชพระสวามีใหม่แต่เนื่องจากขาดฐานอํานาจสนับสนุนและไม่เป็นที่ยอมรับของข้าราชการสํานักจึงถูกยึดอํานาจ
กรมหลวงโยธาเทพ
ได้รับการเฉลิมพระเกียรติจากพระราชบิดาให้เป็นเจ้านายทรงกรม พระองค์ทรงมีอิทธิพลอํานาจสิทธิ์ขาดปกครองดูแลราชสํานักฝ่ายในและมีอิทธิพลมาถึงฝ่ายหน้าโดยผ่านทางภรรยาของขุนนางผู้ใหญ่
บทบาททางสัมคม
ด้านวรรณกรรม
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุกรมหลวงนรินทรเทวี
ทรงนิพนธ์จดหมายเหตุความทรงจําบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าในพศ 2310 จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามณฑา พระองค์เจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล
นิพนธ์กุมารคําฉันท์
คุณพุ่มและคุณสุวรรณ
งานของคุณพุ่มได้แก่เพลงยาววงสรวงสระน้ําที่บางโขมดเพลงยาวเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวผลงานของคุณสุวรรณได้แก่อุณรุทเรื่องพระมะเหลเถไถเพลงยาวกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพทรงพระประชวร
เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ
ทรงนิพนธ์บทละครเรื่องดาหลังและอิเหนาโดยนําโครงเรื่องของชาวชวามาดัดแปลงใหม่ให้เป็นกลอนบทละครไทย
ด้านการศาสนา
สละพระราชทรัพย์เพื่อก่อสร้างและปฏิสังขรณ์พระอารามพระพุทธรูปและทํานุบํารุงพระภิกษุสงฆ์เป็นประจํา
ด้านการศึกษา
เจ้าฟ้าพินทวดี
ทรงเป็นกําลังสําคัญในการจัดทําตําราโบราณราชประเพณีที่ชําระเรียบเรียงขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 1
พระองค์เจ้าบุตรี
ทรงเป็นพระอาจารย์สอนวิชาความรู้เบื้องต้นให้บรรดาพระราชโอรสพระราชธิดาในรัชกาลที่ 4
กลุ่มสตรีที่ได้รับการศึกษาแผนใหม่
ด้านการแพทย์และสังคมสงเคราะห์
แพทย์หญิง ดร.คุณเพียร เวชบุล
บําบัดรักษาและป้องกันกามโรคทั้งแก่บุรุษและหญิงขายบริการและช่วยเหลือสตรีที่ประสบปัญหาชีวิตในครอบครัวและก่อตั้งสถานรับเลี้ยงเด็กกําพร้านอกสมรสในชื่อว่ามาตาภาวะสถานและก่อตั้งบ้านเกร็ดตระการของกรมประชาสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือหญิงขายบริการและเด็กเร่ร่อน
ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม
ตั้งสโมสรวัฒนธรรมฝ่ายหญิงและจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสตรีและเยาวชนก่อตั้งโรงเรียนชาติสงเคราะห์ จัดตั้งสหพันธ์กรรมกรหญิงก่อตั้งสภาสตรีแห่งชาติและสนับสนุนกิจกรรมองค์กรสหประชาชาติ
หม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ กมลราศน์
รับหน้าที่บริหารโรงเรียนพยาบาลและสถานพยาบาลได้จัดระเบียบแบบแผนการรักษาพยาบาลและปรับมาตรฐานการศึกษาให้ทันสมัย
ด้านการประกอบอาชีพและกิจกรรมสังคม
หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล
มีพรทางด้านการท่องเที่ยวขนบธรรมเนียมไทยเหตุการณ์บ้านเมืองโดยเฉพาะกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาทรงมีส่วนร่วมก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก
เจ้าศรีพรหมมา ณ น่าน
นําเทคโนโลยีและวิถีชีวิตแบบตะวันตกมาประยุกต์ใช้ในฟาร์มและครอบครัวรวมทั้งเป็นผู้นําพาครอบครัวเมื่อพระสวามีประสบปัญหาการเมืองจนสามารถก้าวล่วงอุปสรรคต่างๆไปได้
ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์
สนับสนุนการพัฒนาสถานภาพของสตรีในพระราชดําริของพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรีและจัดพิมพ์ตําราแม่ครัวหัวป่าก์
ท่านผู้หญิงตลับ สุขุม
ก่อตั้งโรงเรียนที่สงขลาและตรัง ก่อตั้งโรงเรียนเบญจมราชูทิศที่ถนนบำรุงเมือง
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านกฎหมาย
มีบทบาทสําคัญในการเรียกร้องสิทธิสตรีและยกระดับสถานภาพให้ทัดเทียมบุรุษได้แก่คนหญิงแว่น พรหโมบล คุณหญิงสุภัทรา สิงหลกะ
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านการศึกษา
สั่งสอนอบรมเยาวชนสตรีให้เติบใหญ่อย่างมีคุณค่า
สตรีจากราชสกุลกุญชร
หม่อมหลวงบุญเหลือ วิจัยเกี่ยวกับตระกูลภาษาไท วรรณคดีไทยและวิธีการสอน
หม่อมหลวงพวงร้อย
ประพันธ์บทเพลงที่ไพเราะและทรงคุณค่าไว้มากกว่า 120 บทเพลงทั้งเพลงเทิดพระเกียรติเพลงสถาบันเพลงปลุกใจและเพลงประกอบละครภาพยนตร์ที่เป็นเพลงอมตะคือเพลงบัวขาว เงาไม้เป็นต้น ออ