Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลในงานอนามัยชุมชน "การปฏิบัติตามแผน…
กระบวนการพยาบาลในงานอนามัยชุมชน
"การปฏิบัติตามแผน และการประเมินผลการปฏิบัติงาน " "Implementation and Evaluation"
Implementation
สร้างเสริม
คงไว้
ฟื้นฟู
ลดความเสี่ยง
กระบวนการพยาบาลในงานอนามัยชุมชน
ค้นหา ศึกษาปัญหาและความต้องการของชุมชน
นำไปวางแผน แก้ไข ประเมินผล โดยต้องมีความต่อเนื่อง
ส่วนประกอบ
ความรู้
การมีปฎิสัมพันธ์ภายในกลุ่มเป้าหมาย
ความรู้
ทัศนคติ
ค่านิยม
ความเชื่อ
ทักษะที่สำคัญ
การตรวจร่างกาย
การวินิจฉัยเบื้องต้น
การรักษาโรคเบื้องต้น
จริยธรรมและวัฒนธรรมของท้องถิ่น
ยืดประโยชน์ของกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่
มีผลกระทบวงกว้าง
สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่น
กระบวนการสื่อสาร
เพิ่มการใช้บริการของประชาชน
สนับสนุนให้เกิดวิถีชีวิตที่สร้างเสริมสุขภาพ
พัฒนาสมรรถนะขององค์กร
สนับสนุนนโยบายสุขภาพ
ขั้นตอนการปฎิบัติงานในชุมชน
1 ขั้นเตรียมการตามแผนอนามัยชุมชน
1 1 จัดประชุมกลุ่มศึกษา
1 2 กำหนดตัวบุคคล
1.3 กำหนดรูปแบบแนวทางการประสานงาน
1 4 ตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากร
1 5 ประชาสัมพันธ์
2 ขั้นดำเนินการ
2 1 การปฏิบัติกิจกรรมที่กำหนดไว้ตามขั้นตอน
2 2 การปฏิบัติแผนงาน
2 3 การปฏิบัติงานตามมาตรฐานของวิชาชีพอย่างเคร่งครัด เน้นความปลอดภัย
2 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงานตามแผนกิจกรรม
2 4 1 จัดเตรียมอุปกรณ์
2 4 2 นัดหมายผู้รับผิดชอบงานในส่วนต่างๆ
2 4 3 ไปยังจุดเป้าหมายก่อนถึงกำหนดเวลา
2 4 4 ดำเนินกิจกรรมตามขั้นตอนที่กำหนดไว้
2 4 5 บันทึกการดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างละเอียด
2 4 6 รวบรวมสิ่งของเครื่องใช้ ทำความสะอาด จัดเก็บให้เรียบร้อย
2 4 7 รวบรวมรายงานและสรุปการดำเนินงาน
2 5 ควบคุม นิเทศ และติดตามงาน
2 5 1 การควบคุม
1 การควบคุมผลการปฏิบัติงาน
2 การควบคุมบุคลากร
3 การควบคุมด้านการเงิน
4 การควบคุมทรัพยากรทางกายภาพ
5 การควบคุมเทคนิควิธีการปฏิบัติงาน
2 5 2 การติดตาม ควบคุม
ทำให้แผนงานปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์
2 5 3 การบันทึก
Implementation and Evaluation
ระยะช่วงการปฎิบัติงาน 3 ระยะ
1 การประเมินผลโครงการก่อนการปฏิบัติงาน
ปัญหาของชุมชนมีความชัดเจน ? ขนาดและความรุนแรงของปัญหา ?
แผนงานสอดคล้องกับนโยบายและปัญหาชุมชน ?
การกำหนดวัตถุประสงค์ของแผนงานและวัตถุประสงค์ของโครงการ สอดคล้อง ?
กิจกรรมของแผนงานสอดคล้องและบรรลุวัตถุประสงค์ ?
การบริหารและการจัดการแผนงานชัดเจน ? กิจกรรมต่างๆ มุ่งแก้ไขปัญหา ?
เครื่องมือเครื่องใช้มีความเหมาะสม เพียงพอ ? ชุมชนสามารถดำเนินการ ?
ความพร้อมด้านงบประมาณ สิ่งแวดล้อม สังคมเป็นอย่างไร
2 การประเมินผลโครงการในระหว่างปฏิบัติงาน
ผลของการปฏิบัติโครงการ ตรงกับเกณฑ์ ?
ปริมาณ
คุณภาพ
ตารางเวลา
องค์ประกอบใด ที่ส่งผลทำให้ประสบผลสำเร็จ/ ล้มเหลว
การให้บริการ ครอบคลุมเป้าหมาย/ประชาชน ? ให้ความร่วมมือ ? พึงพอใจ ?
ปัจจัยนำเข้าต่างๆ ครบถ้วน ? / ไม่ตรง ?
การประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ
โครงการบรรลุเป้าหมาย ?
ประสบผลสำเร็จ ล้มเหลว ?
ปัญหา อุปสรรคไหนที่ควรปรับปรุง แก้ไข
การประเมินควรพิจารณา 5 ลักษณะ
การวัดประสิทธิภาพ
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย = ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของกิจกรรม/จำนวนกิจกรรมที่ทำได้
การวัดประสิทธิผล
การประเมินประสิทธิผลของวัตถุประสงค์ = ( วัตถุประสงค์ที่ทำได้ / วัตถุประสงค์ที่กำหนด ) *100
การประเมินประสิทธิผลของกิจกรรม = ( จำนวนกิจกรรมที่ทำได้ / จำนวนกิจกรรมที่กำหนด ) * 100
การประเมินประสิทธิผลของงบประมาณ = ( ค่าใช้จ่ายที่เป็นจริง / ค่าใช้จ่ายที่กำหนดไว้ในโครงการ ) * 100
การวัดความพอเพียง
โครงการแก้ไขปัญหาได้มากน้อยเพียงใด
ครอบคลุมประชาชนมากน้องเพียงใด
การวัดความเหมาะสม
แง่ความจำเป็นการยอมรับของประชาชน
การวัดผลข้างเคียง
ผลดี ผลเสียของโครงการนอกเหนือจากวัตถุประสงค์
ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
พัฒนา ปรับปรุงแผนให้สอดคล้องกับปัญหา
จัดสรรทรัพยากร และบุคลากรให้เพียงพอ
ทราบความก้าวหน้าของการดำเนินงาน จุดอ่อน จุดแข็ง
ทรายถึงระดับความสำเร็จของงาน ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
สร้างขวัญ กำลังใจให้ผู้ปฎิบัติงาน
นายณัฐมงคล เชื้อไทย 600577