Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการเฝ้าระวัง หน่วยที่1 - Coggle Diagram
แนวคิดและหลักการเฝ้าระวัง
หน่วยที่1
นิยามของการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวัง หมายถึง การติดตาม สังเกต พินิจพิจารณาลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจายของโรค หรือปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆอย่าง
ต่อเนื่องด้วยกระบวนการที่เป็นระบบ
การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข
(publichealth surveillance)
การจัดเก็บ การ วิเคราะห์ และการแปลผลข้อมูลทางสาธารณสุขที่ดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
การเฝ้าระวังต้องใช้ข้อมูลเป็นสื่อกลางไม่ใช่เพียงรวบรวมข้อมูล
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ความปกติ
ความผิดปกติ
การสอบสวนทางระบาดวิทยา
ขอบเขตความผิดปกติ
สาเหตุความผิดปกติ
การศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา
ทดสอบสาเหตุความปกติ
ทดสอบวิธีแก้ไขความผิดปกติ
นพ.สุชาติ เจตนเสน
การเฝ้าระวังโรคไม่ใช่การเก็บสถิติ
แต่เฝ้าระวังเพื่อที่จะ “รู้”และควบคุมป้องกันโรคได้ทันเวลา
ต้องเป็นSurveillance for action
องค์ประกอบของการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวัง
เก็บข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
แปลผลข้อมูล
เผยแพร่ข้อมูล
งานสาธารณสุข
จัดลำดับความส าคัญของปัญหา
วางแผนดเนินการมาตรการต่างๆและประเมินผล
สอบสวนโรค
ควบคุมโรค
ป้องกันโรค
ข้อมูลที่ใช้ในการเฝ้าระวัง
ข้อมูลการป่วย
ข้อมูลการตาย
ข้อมูลการชันสูตรโรค
ข้อมูล (ข่าวสาร) การระบาด
ข้อมูลการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย
ข้อมูลสอบสวนการระบาด
ข้อมูลการส ารวจทางระบาดวิทยา
ข้อมูลการศึกษารังโรคในสัตว์และการกระจายของแมลงนำโรค
ข้อมูลการใช้วัคซีน ซีรั่ม และยา
ข้อมูลประชากรและสิ่งแวดล้อม
วิวัฒนาการของระบบเฝ้าระวัง
1348-1532 เป็นการเฝ้าโรคในระดับบุคคล (สมัยโรคระบาดใหญ่ทั้งเมือง), CD
1662-1680 น าสาธารณสุขและระบาดวิทยาเข้าสู่การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข, CD
1741-1766 การเฝ้าระวังขยายสู่การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่ม เฉพาะสถานที่ เฉพาะเรื่อง เช่นนักเรียน โรงเรียน อาหารและน้ำ เป็นต้น, CD
1800-1893 น าปัจจัยก าหนดที่ส่งผลต่อการเกิดโรคเข้าสู่การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข เช่นเพศ อายุ SES, CD
1900-ปัจจุบัน น าหลายแหล่งข้อมูลมาใช้ในการเฝ้าระวังทางสาธารณสุข มีข้อตกลงระหว่างประเทศในการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ ขยายการเฝ้าระวังจาก CD
1900 การสัมผัสผู้ป่วยโรคติดเชื้อ
(individual contacts of infectious patients)
1950 โรคติดต่อ
(communicable Diseases)
1970 เลือกเฉพาะโรคเรื้อรังบางโรค
(selected chronic disease)
1990 ปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรม
อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม(behavioral, occupational
and environmental risk factors)
ลักษณะของการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังเฉพาะบุคคล (individual surveillance)
เป็นการติดตามเฝ้าระวังผู้สัมผัสโรค ว่าจะเกิดการป่วยจากโรคที่สัมผัสมาหรือไม่เพื่อให้การรักษาได้อย่าง ทันท่วงที
การเฝ้าระวังโรค (disease surveillance)
เป็นการติดตามเฝ้าระวังการเกิด
โรคหรือเหตุการณ์ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในพื้นที่ที่กำหนด เพื่อทราบถึงขนาดปัญหาลักษณะการกระจาย
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (epidemiological surveillance)
เป็นการติดตามเฝ้าระวังบุคคล สถานที่ เวลา และองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวัง
1.เพื่อค้นหาการเกิดโรคหรือการเปลี่ยนแปลงของปัญหาสาธารณสุข
อย่างทันท่วงที
2.เพื่อให้ทราบรูปแบบของการเกิดโรคหรือปัญหาสาธารณสุข รวมทั้ง
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคหรือการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ
3.เพื่อให้ทราบแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงของการเกิดโรคหรือปัญหา
สาธารณสุข
4.เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดมาตรการควบคุมป้องกันโรค
และประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประโยชน์ของการเฝ้าระวัง
ประโยชน์ของการเฝ้าระวัง
สามารถใช้ในการคาดประมาณขนาดปัญหา (Estimate magnitude of the problem)
ทราบลักษณะการกระจายทางภูมิศาสตร์ของโรค (Determine geographic distribution of illness)
แสดงให้เห็นธรรมชาติของการเกิดโรค (Portray the natural history of a disease)
สามารถตรวจจับการระบาด/แสดงให้เห็นปัญหา (Detect epidemics/define a problem)
สามารถนำมาสร้างสมมติฐานการวิจัย กระตุ้นให้เกิดการศึกษาวิจัย (Generate hypotheses,stimulate research)
ใช้ประเมินมาตรการด้านการควบคุมโรค (Evaluate control measures)
ใช้ในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของเชื้อ (Monitor changes in infectious agents)
ใช้ในการตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของการปฏิบัติทางสุขภาพ (Detect changes in health practices)
ช่วยในการวางแผน (Facilitate planning)
ตรวจจับการระบาดของโรค
ติดตามสถานการณ์โรค
พยากรณ์การเกิดโรค
อธิบายธรรมชาติและการกระจายของโรค
ประเมินผลมาตรการควบคุมป้องกันโรค
เป้าหมายของการเฝ้าระวัง
หัวใจของความสำเร็จการเฝ้าระวัง
ทุกเหตุรายงาน
มีความหมาย
ต้องตอบสนอง