Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เเบบประเมินผู้สูงอายุ 11 แบบเเผน - Coggle Diagram
เเบบประเมินผู้สูงอายุ 11 แบบเเผน
แบบแผนที่ 5
การพักผ่อนนอนหลับ
ชนิดของข้อมูล
1.การรวบรวมข้อมูลอัตนัย (subjective data)
การซักประวัติเพื่อระบุปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ สาเหตุของปัญหา พฤติกรรมที่ควรส่งเสริมและปรับแก้ไขเพื่อส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับที่ดี
2.ข้อมูลปรนัย (objective data)
การสังเกตพฤติกรรม
การตรวจร่างกาย การตรวจพิเศษเพื่อประเมินลักษณะที่สำคัญ คือ การตรวจคุณภาพการนอนหลับ
แบบประเมินที่ใช้ในแบบแผนที่ 5
1.แบบสอบถามโรคทางกาย
2.แบบประเมินการรู้คิด
แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย (MMSE-Thai2002)
แบบทดสอบ Thai Mental State Examination(TMSE)
แบบทดสอบ Montreal Cognitive Assessment(MoCA)
3.แบบประเมินทางจิต
แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุไทย (Thai Geriatric Depression Scale: TGDS)
แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า
4.แบบประเมินที่เกี่ยวข้องกับการนอนหลับที่ใช้บ่อย
แบบทดสอบระดับความง่วงนอน (Epworth sleepiness scale: ESS)
Modified Berlin Apnea Questionnaire
แบบประเมินภาวะหยุดหายใจขณะหลับ STOP-Bang
แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ (Pittsburgh sleep quality index: PSQI)
แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ (The Verran and Snyder Halpern Sleep Scale: VSH sleep scale)
แบบประเมินอาการนอนไม่หลับ แบบประเมินความเชื่อและทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการนอนหลับ (Dysfunctional beliefs and attitudes about sleep questionnaire: DBAS) (Insomnia severity index:ISI)
แบบประเมินสิ่งเร้าก่อนการนอนหลับ (Pre-sleep Arousal Scale: PSAS)
5.แบบประเมินอื่นๆ
Fatigue severity scale
Short form health survey (SF-36)
แบบแผนที่1
การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
1.การประเมินสิ่งแวดล้อม (Environmental Assessment)
แบบประเมินบ้าน (Home Safety Checklist)
แบบประเมินการพลัดตกหกล้ม (Risk fall in Hospital)
2.การประเมินด้านความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Functional assessment)
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน Basic ADL (Activities of Daily Living : ADL) แบบประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน : Bathel’s ADL Index
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเชิงปฏิบัติ (Instrumental Activities of Daily Living : IADL)
แบบประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติดัชนีจุฬาเอดีแอล : Chula ADL index Katz Index of Independence in Activities of Daily Living (ADL)
3.การประเมินสุขภาพกาย (Physical Assessment)
การซักประวัติ
ประวัติสุขภาพ/อาการสำคัญ/การใช้ยา
แบบแผนที่ 7
การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
ประเมินเกี่ยวกับอัตมโนทัศน์และการรับรู้เกี่ยวกับตนเอง ได้แก่ ทัศนคติเกี่ยวกับตนเอง การรับรู้ความสามารถของตนเองในด้านต่าง ๆ ภาพลักษณ์คุณค่าแห่งตน เอกลักษณ์ของตนเอง เป้าหมายและความคาดหวังที่มีต่อตนเอง
แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุไทย (Thai Geriatric Depression Scale : TGDS)
แบบประเมินและวิเคราะห์ความสุขของคนไทย(Gross National Happiness)
ประเมินโดยแบบทดสอบ Rubin’s Self Esteem Scale
เเบบเเผนที่2
โภชนาการและการเผาผลาญอาหาร
การประเมินโดยแบบสอบถามใช้แบบประเมินการคัดกรองภาวะโภชนาการ
(Mini Nutritional Assessment : MNA)
- ส่วนที่1
การคัดกรอง (คะแนนเต็ม14คะแนน) หากคะแนนรวมเท่ากับ หรือน้อยกว่า 11 ให้ตอบคำถามต่อในส่วนประเมินภาวะโภชนาการ
- ส่วนที่2
การประเมินภาวะโภชนาการ (คะแนนเต็ม 16คะแนน)
การเเปรผล
24-30 คะแนน มีภาวะโภชนาการปกติ
17-23.5 คะแนน มีความเสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร
น้อยกวา่ 17คะแนน ขาดสารอาหาร
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical Assessment)
5.การประเมินภาวะโภชนาการทางคลินิก (Clinical Assessment)
6.การประเมินโดยการวัดส่วนต่างๆของร่างกาย (Anthropometric Assessment)
7.การคิดค่าดัชนีมวลกาย (Body mass index, BMI)
8.การวัดวงรอบแขน (Mid arm circumference, MAC)
การวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง (Skin fold thickness)
1.การซักประวัติเกี่ยวกบัการรับประทานอาหารและเครื่องดื่ม
2.การสำรวจอาหารที่บริโภค
ใช้วิธีการสำรวจเป็นแบบสอบถามย้อนหลัง (Retrospective Study)
แบบเเผนที่4
กิจกรรมและการออกกำลังกาย
1.การประเมินสุขภาพทางกาย (Evaluation of Physical status)
แบบประเมินท่าเดิน (get-up-and-go test)
แบบประเมินภาวะที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ (Geriatric syndrome)
แบบประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ (Fall risk assessment tool in elderly)
2.การประเมินด้านความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Functional assessment)
แบบประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index)
การประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติ ดัชนีจุฬาเอดีแอล (Chula ADL Index)
แบบเเผนที่3 การชับถ่าย
• การซักประวัติ ซักถามการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ทั้งจำนวน
ปริมาณ ลักษณะ ทั้งกลางวันและกลางคืน มีความผิดปกติอะไรบ้าง
• สังเกตุและตรวจร่างกาย สังเกตการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ทั้งลักษณะ ปริมาณ กลิ่น สี จำนวนครั้งในแต่ละวัน
• การประเมินด้านความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Functional assessment)
แบบประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index)
ข้อ 9 Bowels การกลั้นปัสสาวะในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา
10 Bladder การกลั้นอุจจาระในระยะเวลา 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา
แบบแผนที่ 6
สติปัญญาและการรับรู้
ด้านสติปัญญา
: ประเมินสภาพสมอง การคิดและจิตใจ
การประเมินภาวะซึมเศร้า ประกอบไปด้วย
Beck Depression (BDI)
แบบประเมินภาวะซึมเศร้าผู้สูงอายุไทย (TGDS/The Geriatric Depression Scale)
Geriatric Depression Scale (GDS)
การประเมินเชาว์ปัญญา
แบบประเมินสภาพจิตจุฬา (Chula Mental Test : CMT)
Mini- Mental State Exam (MMSE)
Thai Mental State Examination (TMSE)
แบบทดสอบวาดหน้าปัดนาฬิกา Clock Drawing Test (CDT)
ด้านการรับรู้
: การประเมินสัญญาณทางระบบประสาท
glasgow coma scale (Eye opening, Verbal response , Moter response )
แบบเเผนที่ 11
ค่านิยมเเละความเชื่อ
ประเมินทางสังคม (Social Assessment) คุณค่าและความเชื่อ โดยพยาบาลใช้การประเมินแบบซักประวัติ การสังเกตและการตรวจร่างกาย
การประเมินโดยการซักประวัติ
ด้านคุณค่า
โดยการสอบถามข้อมูลของผู้สูงอายุ
สิ่งที่ต้องการมากที่สุดในชีวิต
แผนการดำรงชีวิตในอนาคต
ด้านความเชื่อ
โดยการสอบถามข้อมูลของผู้สูงอายุ
ความเชื่อทางศาสนา เช่นการนับถือศาสนา
การปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา เป็นต้น
ศรัทธาและความเชื่อด้านอื่นๆ เช่น โชคลาง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ พิธีกรรม สิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพ
สังเกตและตรวจสุขภาพ
โดยที่พยาบาลมีการสังเกตผู้สูงอายุว่ามีการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาหรือไม่
มีความสอดคล้องระหว่างการปฏิบัติกับการให้ข้อมูลหรือไม่
( เพื่อใช้ในการประเมินผู้สูงอายุในแบบแผนที่ 11 )
แบบแผนที่ 8
บทบาทและสัมพันธภาพ
ชนิดของข้อมูล
1.การรวบรวมข้อมูลอัตนัย (subjective data)
การซักประวัติเพื่อระบุปัญหาข้อมูลโดยทั่วไปที่เกี่ยวกับสัมพันธภาพในครอบครัวและเพื่อนบ้าน
2.การรวบรวมข้อมูลปรนัย (Objective data)
เป็นข้อมูลที่ได้จากการตรวจลักษณะความสะอาด พฤติกรรมแสดงและอาการแสดงออกทางสังคม
เป็นข้อมูลที่ได้จากการบันทึกทางสุขภาพ เช่น ข้อมูลจากการสังเกตของสมาชิกในครอบครัวหรือบุคคลใกล้ชิดอื่น ๆ
แบบประเมินที่ใช้ในแบบแผนที่ 8
1.ด้านความสามารถในการทำหน้าที่ (Functional health)
แบบประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติ ( Barthel Activities of Daily Living : ADL)
แบบการประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติ ดัชนีจุฬาเอดีแอล (Chula ADL Index)
2.ด้านสุขภาพทางจิตใจ (Psychological health)
แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุไทย Thai Geriatric Depression Scale (TGDS)
3.ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
(Social and Environment health)
แบบประเมินสภาวะความเป็นอยู่และสภาวะทางสังคมของผู้สูงอายุ
แบบประเมินความรอบรู้ด้านการจัดสภาพแวดล้อมต่อผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
แบบแผนที่ 9
เพศและการเจริญพันธุ์
การประเมินปัญหา
พยาบาลควรจะประเมินผู้ป่วยแบบองค์รวมเพื่อแยกแยะสาเหตุ
ซึ่งขณะประเมินควรมีคู่สมรสอยู่ด้วย ตัวอย่างหัวข้อในการประเมิน
ประเมินสภาวะทางจิตใจ เช่น ใช้แบบประเมินภาวะซึมเศร้าหรือใช้การสังเกต
ประเมินการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาผ่านทางการตรวจระบบต่าง ๆ เช่น ระบบนรีเวช ระบบทางเดินปัสสาวะ รวมทั้ง ประเมินระดับฮอร์โมนต่างๆ เป็นต้น เพื่อหาสาเหตุที่มีผลกระทบต่อสุขภาวะทางเพศ
ประเมินการเจ็บป่วยเรื้อรังหรืออาการเรื้อรังต่าง ๆ เช่น การป่วยเป็นโรค เบาหวาน โรคหัวใจ โรคพาร์กินสัน โรคข้ออักเสบ การปวดเรื้อรังหรือการเคลื่อนไหวลดลง อาจส่งผลต่อภาพลักษณ์ของตนเองทำให้ความต้องการทางเพศลดลง
ประเมินการใช้ยาในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะยาที่ใช้ทั่วไปในการรักษาโรคทางการ แพทย์ที่มีผลกระทบต่อการแสดงออกด้านเพศสัมพันธ์เช่น กลุ่มยาต้านเศร้า กลุ่มยาลดความดันโลหิตและประเมินการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ซึ่งส่งผลต่อวงจรการตอบสนองทางเพศ
ประเมินความคิด ทัศนคติและ พฤติกรรมของผู้สูงอายุที่เป็นอุปสรรคต่อการ แสดงออกทางเพศ
ประเมินสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย เช่น การอยู่รวมกันหรือการอยู่ในสถานพยาบาล การอยู่อาศัยลักษณะเหล่านี้ ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกขาดความเป็นส่วนตัว ซึ่งเป็นเหตุ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุคิดว่าไม่ควรมีเพศสัมพันธ์อีก ต่อไป
แบบแผนที่ 10
การปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุไทย (Thai Geriatric Depression Scale : TGDS)
2.แบบประเมินสุขภาพจิตผู้สูงอายุ (Thai Geriatric Mental Health Assessment Tool (T-GMHA-15)
5.แบบประเมินความเครียด (ST5)
คะแนน 0 หมายถึง แทบไม่มี
คะแนน 1 หมายถึง เป็นบางครั้ง
คะแนน 2 หมายถึง บ่อยครั้ง
คะแนน 3 หมายถึง เป็นประจำ
6.แบบประเมินโรคซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q)
7.แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9 คำถาม (9Q)
แบบประเมินการฆ่าตัวตาย 8 คำถาม (8Q)
3.แบบประเมินความสุขคนไทย
4.เครื่องมือวัดคุณภาพชีวิตขององค์กรอนามัยโลก
(WHOQOL - BREF - THAI)
9.แบบวัดประเมินความเครียด กรมสุขภาพจิต (SPST-20)
ระดับความเครียด 1 หมายถึง ไม่รู้สึกความเครียด
ระดับความเครียด 2 หมายถึง รู้สึกเครียดน้อยลง
ระดับความเครียด 3 หมายถึง รู้สึกเครียดปานกลาง
ระดับความเครียด 4 หมายถึง รู้สึกเครียดมาก
ระดับความเครียด 5 หมายถึง รู้สึกเครียดมากที่สุด