Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน กรณีศึกษา…
การพัฒนาระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน
กรณีศึกษา โรงเรียนวัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บำรุง)
วัตถุประสงค์การวิจัย
1) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน กรณีศึกษา โรงเรียนวัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บำรุง)
2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน
ระเบียบวิธีวิจัย
2.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1) ระบบสารสนเทศการลง
เวลาเข้าเรียนของนักเรียน กรณีศึกษา โรงเรียนวัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บำรุง)
2) แบบประเมินความพึงพอใจของระบบสำหรับครูและนักเรียน
3.การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
2) ทำการสร้างแบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญ
3) นำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง ความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา
1) ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญ
4) นำแบบสอบถามที่แก้ไขเรียบร้อยแล้วไปทดลองใช้กับผู้เชี่ยวชาญ
5) หลังจากได้ผลสรุปความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญแล้ว ทำการสรุปและวิเคราะห์ข้อมูล
6) ศึกษาเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน
7) พัฒนาระบบสารสนเทศให้อาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการตรวจสอบและ
ปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำ
8) ทำการสร้างแบบประเมินโดยศึกษาจากแนวทางที่มีผู้จัดทำไว้ และปรับปรุงเพิ่มเติม
9) นำแบบประเมินที่สร้างขึ้นให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบและประเมิน
10) รวบรวมข้อมูลการประเมินระบบและวิเคราะห์ข้อมูล
1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ได้แก่ กลุ่มประชากรจากโรงเรียนวัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บำรุง)
ปีการศึกษา 2562 โดยแบ่งออกเป็น ครู จำนวน 18 คน นักเรียน จำนวน 404 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูประจำชั้น จำนวน 16 คน นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3/2 จำนวน 28 คน ปีการศึกษา 2562 เป็นผู้ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ
และในการเลือกกลุ่มตัวอย่างสำหรับการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive
Sampling)
4.วิธีดำเนินการวิจัยและรวบรวมข้อมูล
3 การออกแบบ (Design)
4 การนำไปใช้ (Implementation)
2 การวิเคราะห์ (Analysis)
5 การบำรุงรักษา (Maintenance)
1 การวางแผนโครงการ (Project Planning)
ผลการวิจัย
1) ระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน กรณีศึกษา โรงเรียนวัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บำรุง) ที่พัฒนาขึ้นสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้ทันเวลาอย่า’เป็นระบบ โดยใช้เทคโนโลยีบาร์โค้ด
2) ความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบสำหรับครูในภาพรวมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26
ผลการวิจัยสรุปได้ว่า
ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนทำการสแกนบาร์โค้ดที่บัตรประจำตัวนักเรียนก่อนเข้าห้องเรียน เพื่อบันทึกเวลาเรียน ช่วยลดเวลาการตรวจสอบรายชื่อนักเรียนของครูประจำชั้น
ผลจากการประมวลผลข้อมูลเวลาเรียนของนักเรียน ช่วยแก้ปัญหาในการคำนวณ ช่วยลดเวลาการทำงานให้กับครูเวร และลดความผิดพลาดในการจัดเตรียมอาหารกลางวัน
การประมวลผลเวลาเรียน ช่วยให้ครูประจำชั้นสามารถดำเนินการติดตามนักเรียนที่ ขาดเรียนติดต่อกันหลายวันได้ทันเวลา
ระบบสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้ทันเวลาอย่างเป็นระบบ
ความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน กรณีศึกษา โรงเรียนวัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บำรุง) สำหรับครู และนักเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และมี ค่าเฉลี่ย เท่ากับ ( = 4.26) (S.D. = 0.68) และ ( = 4.18) (S.D. = 0.69) ตามลำดับ
ประเด็นที่อภิปรายผล
ระบบช่วยแก้ปัญหาให้ครูเวรประจำวัน
สามารถบันทึกข้อมูลได้เร็วขึ้น
ลดภาระงานทำให้มีเวลาในการสอนมากขึ้น
ลดการทำงานที่ซ้ำซ้อนในการทำเอกสารของครูประจำชั้น
ความผิดพลาดของข้อมูล ทำให้สามารถรู้จำนวนนักเรียนได้รวดเร็ว และการจัดเตรียมอาหารกลางวัน สำหรับนักเรียนได้พอดี
ช่วยในการคำนวณจำนวนนักเรียนได้รวดเร็ว และถูกต้อง
ข้อเสนอแนะ
ข้อแนะนำในการนำผลการวิจัยไปใช้
ควรติดตั้งระบบ WIFI ให้ครอบคลุมทั้งโรงเรียน ในการใช้งานระบบจะได้ใช้อย่างทั่วถึง
ควรจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องยิงบาร์โค้ดเพื่อใช้ในการสแกนบัตรนักเรียน ให้เพียงพอต่อการ ใช้งาน
ผู้ใช้งานควรศึกษาระบบ และควรอ่านคู่มือก่อนการใช้งาน เพื่อการใช้ง่ายต่อการใช้งาน และสามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
นำเทคโนโลยี QR Code มาประยุกต์ใช้ เพื่อความสะดวก รวดเร็วต่อการใช้งาน ช่วยลด ค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์เครื่องสแกนบาร์โค้ด
ควรทดสอบระบบกับนักเรียนทั้งโรงเรียน เพื่อจะได้รู้จุดบกพร่อง และสามารถทดสอบ ระบบได้เต็มประสิทธิภาพ
ควรพัฒนาระบบเพื่อใช้ร่วมกับระบบงานอื่นได้ เช่น ระบบงานห้องสมุด ระบบงานห้อง พยาบาล ในการบันทึก และค้นหาข้อมูล
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนา1) ระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน กรณีศึกษา โรงเรียนวัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บำรุง) ที่พัฒนาขึ้นสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้ทันเวลาอย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคโนโลยีบาร์โค้ด 2) เพื่อศึกษา ความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบสำหรับครูในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.68 และความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ระบบสำหรับนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.69 ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ครูประจำชั้น จำนวน 16 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2 จำนวน 28 คน โรงเรียนวัดบ้านหลวงโดยใช้วิธีการเลือกแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) ระบบสารสนเทศการลง เวลาเข้าเรียนของนักเรียน 2) แบบประเมินความ พึงพอใจของระบบสำหรับครูและนักเรียน