Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน ฟื้นฟูนและการดูแลผู้ใหญ…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน ฟื้นฟูนและการดูแลผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี และมีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับอวัยวะสัมผัส
กายวิภาคของหู
-
หูชั้นกลาง (middle ear)
-
-
-
และติดกับหูชั้นในทางหน้าต่างรูปไข่และรูปกลม ซึ่งหน้าต่างรูปกลมจะมีเยื่อบางๆปิดอยู่ เรียกว่า Sencondary Tympanic membrance
-
-
-
-
-
การได้กลิ่น
จมูกเป็นอวัยวะที่รับสัมผัสกลิ่น เช่น กลิ่นอาหาร และสารเคมีอื่นๆ ในโพรงจมูกขะมีเซลล์รับสัมผัสกลิ่นซึ่งเป็นสารเคมีอยู่ทางตอนท้ายของโพรงจมูกอยู่ถึง 7 ชนิด
กลไลการได้กลิ่น
โมเลกุลในอากาศ>ช่องโพรงจมูก>สัมผัสกับขนของเซลล์รับความรู้สึกในการดมกลิ่นซึ่งอยู่ที่เบื่อบุโพรงจมูกด้านบน>ไปไซแนปส์กับเซลล์ประสาทรับกลิ่น>ซึ่งจะเปลี่ยนกลิ่นเป็นกระแสประสาท>วิ่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1>Olfactory bulb>แปลผลที่ Temporal lobe ของ Cerebrum
โรคที่พบได้บ่อยทางจมูก
เลือดกำเดา (Epistaxis)
สาเหตุ
เป็นภาวะที่มีเลือดออกมาทางจมูก จากการฉีกขาดของหลอดเลือดที่เยื่อบุจมูก อาจมาจากการบาดเจ็บ การมีสิ่งแปลกปลอมเข้าไป การมีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด การติดเชื้อ การมีเนื้องอก
-
การพยาบาลหลังการรักษา
-
-
-
-
อาจมีอาการหูอื้อ แต่จะหายเมื่อนำตัวกดห้ามเลือดออก จะ เอาออกหลังใส่ 48-72 ชั่วโมง แต่ถ้ามีเลือดออกมากอาจใส่นาน 7 วัน ภายหลังการนำออก ควรนอนนิ่งๆ ก่อน 2-3 ชั่วโมง
-
-
-
ไซนัส (Sinusitis)
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะพร่องของสารน้ำและสารอาหาร เนื่องจากความไม่สมดุลของสารน้ำในร่างกายและการเสียเลือดออกทางช่องจมูก
-
-
การเปลี่ยนแปลงของการรับรู้ต่างๆ เช่น การมองเห็นเปลี่ยนไป เนื่องจากอันตรายจากการกระทบกระเทือนต่อระบบต่างๆในการผ่าตัดบริเวณจมูก
-
ช่องปากและลำคอ
-
-
-
ข้อวินิจฉัย
เกิดภาวะพร่องสารน้ำและสารอาหารในร่างกายจากการได้รับอาหารและน้ำในปริมาณไม่เพียงพอ เพราะเจ็บคิเวลากลืน
เสี่ยงต่อภาวะเสียเลือด เนื่องจากมีแผลเปิดในคอหรือทางเดินหายใจไม่โล่งจากการสำลักเลือดหรือสิ่งคัดหลั่งอื่นลงไป
-
-
-
ตา (Eye)
-
-
โรคที่พบได้บ่อย
ต้อหิน (Glaucoma)
-
เมื่อมีแรงดันลูกตาเพิ่มมากขึ้นจะทำให้ประสาทตาถูกทำลาย ส่งผลให้เกิดการสูญเสียประสิทธิภาพของลานสายตา และสมรรถภาพของการมองเห็น
-
-
อาการและอาการแสดง
-
ต้อหินระยะเรื้อรัง
ความดันของลูกตาสูงขึ้นเล็กน้อย บางคนอาจไม่รู้สึกอาการอะไเลย อาจมีมึนศีรษะเล็กน้อย ตาพร่ามัว ลานสายตาจะค่อยๆแคบลง
การรักษา
รักษาเพื่อเพิ่มการไหลออกหรือลดการผลิตน้ำเอเควียส ควบคุมความดันลูกตาให้อยู่ในระดับปกติ พร้อมนัดมาตรวจเป็นระยะๆ
-
-
ต้อกระจก (Cataract)
เป็นภาวะแก้วตาขุ่น เป็นผลการเปลี่ยนแปลงโปรตีนภายในแก้วตา ไม่ยอมให้แสงผ่าน ทำให้เกิดอาการตามัว มิงเห็นภาพไม่ชัดเจน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-