Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การวิเคราะห์หนังสือสำหรับเด็ก - Coggle Diagram
บทที่ 5 การวิเคราะห์หนังสือสำหรับเด็ก
ความหมายของการวิเคราะห์หนังสือสำหรับเด็ก
คำว่า วิเคราะห์ ตามพจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง ใคร่ครวญ แยกออกเป็นส่วนๆ เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้
จุดประสงค์ในการวิเคราะห์หนังสือสำหรับเด็ก หนังสือสำหรับเด็กอาจสรุปเป็นข้อๆ ได้ดังนี้
3.เพื่อวิเคราะห์ดูความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของวิชานั้นๆ
4.เพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุง หรือสร้างหนังสือสำหรับด็กขึ้นมาใหม่
2.เพื่อวิเคราะห์ดูพัฒนาการของหนังสือสำหรับเด็กว่า มีความเปลี่ยนแปลง และความก้าวหน้าเพียงใด
5.วิเคราะห์ถึงอิทธิพลของหนังสือสำหรับเด็กเล่มนั้นว่ามีต่อเด็กในทางใด
1.เพื่อวิเคราะห์ถึงคุณภาพของเนื้อหาลักษณะรูปเล่ม และส่วนอื่นๆ ของหนังสือว่ามีคุณค่าเพียงใด
6.วิเคราะห์เพื่อหาจุดเด่นของหนังสือเล่มนั้นๆ
7.เพื่อเป็นแนวทางแก่บรรณานุรักษ์ ครู และผู้ปกครอง ในการคัดเลือกหนังสือสำหรับเด็กที่เหมาะสม
8.เพื่อเป็นแนวทางให้เด็กเลือกหนังสือที่ดีอ่าน
วิธีเคราะหนังสืออ่านสำหรับเด็ก
วิธีดำเนินการวิเคราะห์เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ
2.วิเคราะห์โดยอาศัยความคิดเห็นของผู้อื่น ต่อหนังสือเล่มนั้นด้วยวิธีเก็บข้อมูลแบบต่างๆ
1.วิเคราะห์ตามความคิดเห็นของผู้วิเคราะห์เองต่อหนังสือเล่มนั้นด้วยวิธีต่างๆ
ขั้นตอนในการดำเนินวิเคราะห์
3.ศึกษาและทำความเข้าเกี่ยวกับหนังสือสำหรับเด็กด้านต่างๆ เช่น ความหมาย ขอบข่าย
4.ศึกษาหนังสือเล่มที่จะวิเคราะห์ให้ละเอียดทุกแง่ทุกมุม
2.ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องการวิเคราะห์หนังสือ
1.ตั้งวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์
5.ตั้งเกณฑ์ในการวิเคราะห์ด้านใดบ้างในขอบข่ายด้านกว้าง ด้านลึกเพียงใด
6.เลือกวิธีการวิเคราะห์ว่า จะทำการวิเคราะห์โดยวิธีใด แบ่งออกเป็น 3 วิธี
6.1 วิเคราะห์ด้วยตนเองตามเกณฑ์ที่ตั้งขึ้น
6.2 วิเคราะห์โดยสอบถามความคิดเห็นจากเด็ก หรือผู้ใช้หนังสือเล่มนั้น
6.3วิเคราะห์โดยการตั้งกรรมการ
6.4 วิเคราะห์โดยส่งแบบสอบถามไปยังผู้เกี่ยวข้อง เช่น ตัวเด็ก ผู้ปกครอง
7.สร้างเครื่องมือในการวิเคราะห์ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เกณฑ์ และวิธีการวิเคราะห์ที่เลือกแล้ว
8.การสุ่มตัวอย่างประชากร
9.สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
10.การนำเสนอข้อมูล
เกณฑ์ในการวิเคราะห์หนังสือสำหรับเด็ก
เกณฑ์ในการวิเคราะห์หนังสืออ่านประกอบ แบ่งออกเป็น 10 ข้อ
5.การจัดเรื่อง
6.ความน่าอ่าน
4.ภาษา
7.เครื่องช่วยประกอบ
3.เนื้อหาสาระ
8.ความทนทาน
2.ปีที่แต่งแะลพิมพ์
9.ค่านิยมของวิชา
1.ผู้แต่ง
10.คุณค่าในด้านอื่นๆ
การสุปผลการวิเคราะห์
เมื่อได้ดำเนินการวิเคราะห์ด้านต่างๆ แล้วในตอนสุดท้ายของการวิเคราะห์จะมีการสรุปผลทั้งหมดของการวิเคราะห์ รวมทั้งการวิจารณ์ แสดงความคิดเห็นและเสนอแนะตามข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์นั้น