Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การพยาบาลผู้ที่ มีพยาธิสภาพของ ต่อมไร้ท่อระยะ …
บทที่4
การพยาบาลผู้ที่
มีพยาธิสภาพของ
ต่อมไร้ท่อระยะ
เฉียบพลันและเรื้อรัง
หน้าที่ของต่อมไร้ท่อ
สร้างฮอร์โมน ที่ควบคุมอารมณ์ การเจริญเติบโต การเผาผลาญ การเจริญพันธุ์
ควบคุมการสร้างและการปล่อยฮอร์โมนออกมา
ส่งฮอร์โมนจะไปสู่เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมกับกระแสเลือด
โรคเบาหวาน
เป็นภาวะที่ร่างกายมีน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากการขาดฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) หรือการดื้อต่อฮอร์โมนอินซูลิน ส่งผลให้กระบวนการดูดซึมน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงานของเซลล์ในร่างกายมีความผิดปกติหรือทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ แบ่งออก2ชนิด
เบาหวานประเภทที่ 1 (Type 1 Diabetes) เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้
เบาหวานประเภทที่ 2 (Type 2 Diabetes) เกิดจากการที่ตับอ่อนผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้ไม่เพียงพอต่อการใช้ หรือเกิดภาวะการดื้ออินซูลินโรคเบาหวานประเภทที่ 2 จะแสดงอาการแบบค่อยเป็นค่อยไป
อาการของโรคเบาหวาน กระหายน้ำมาก ปากแห้ง ปัสสาวะบ่อย หิวบ่อย น้ำหนักลดหรือเพิ่มผิดปกติ สายตาพร่ามัว เห็นภาพไม่ชัด รู้สึกเหนื่อยง่าย มีอาการชาโดยเฉพาะมือและขา บาดแผลหายยาก เป็นต้น
อาการเบาหวานชนิดที่1 มีอาการน้ำหนักลด ปัสสาวะบ่อย ทานอาหารเก่ง หิวน้ำเก่ง เพลีย เหนื่อยง่าย บางรายมาด้วยไม่รู้สึกตัว อาการต่างๆดังกล่าวเกิดจากน้ำตาลในกระแสเลือดสูงไป
อาการเบาหวานชนิดที่2
ปวดศีรษะ
ตามัว
หิวน้ำบ่อย ปัสสาวะบ่อย
ผิวแห้ง คันตามตัว
อาการของน้ำตาลในเลือดสูง
น้ำตาลในเลือดเกิน 240
ยาที่ใช้รักษา
1.ยาเม็ดในกลุ่มนี้ไม่ทำให้เกิดภาวะ
น้ำตาลในเลือดต่ำ ได้แก่ Troglitazone
2.ยาเพิ่มการหลั่งของอินซูลิน
เช่น Sulfonylurea
3.insulin
3.1.ออกฤทธิ์เร็วRapid actingหรืออินซูลินน้ำใส ได้แก่ Humalog(insulin lispro),novolog(insulin aspart) ,apidra ( insulin glulisine) อินซุลินชนิดนี้เมื่อฉีดแล้วจะออกฤทธิ์ทันทีดังนั้นควรจะ
ฉีดยาก่อนอาหารไม่เกิน 15 นาที
3.2. Short acting insulin ได้แก่ Regular insulin -Actrapid -Humalin-R เริ่มออกฤทธิ์ 30-45 นาทีหลังฉีด ออกฤทธิ์สูงสุด 2-4 ชั่วโมงหลังฉีด
และอยู่ได้นาน 4-6 ชั่วโมงหลังฉีด
3.3 ออกฤทธิ์ปานกลาง
Intermediate-Acting
Insulin แบ่งเป็น 2 ชนิด
3.1 NPH insulin ใช้สาร
protamine ทำให้อินซูลินออกฤทธิ์ยาวขึ้น
Humalin-N เริ่มออกฤทธิ์ 1-4 ชม.หลังฉีด
ออกฤทธิ์สูงสุด4-10 ชม. และยาอยู่ได้นาน
12-20 ชม.
3.2 Lente insulin ใช้ zincทำให้ยา
ออกฤทธิ์นานขึ้นเริ่มออกฤทธิ์ 2-4 ชม.
หลังฉีด ออกฤทธิ์สูงสุด
8-12 ชม. และยาอยู่ได้นาน 12-20 ชม
5.อินซูลินผสม Insulin Mixturesเป็นการผสมอินซูลินออกฤทธิ์เร็วกับอินซูลินออกฤทธิ์ปานกลาง โดยมากผสมอัตราส่วน 30:70
ออกฤทธิ์ระยะยาว Long-Acting Insulin ได้แก่ insulin glargine insulin detemirออกฤทธิ์นานสุด เริ่มออกฤทธิ์ 3-5 ชม.หลังฉีด
ออกฤทธิ์สูงสุด 10-16 ชม.และยาอยู่ได้นาน 18-24 ชม
Glycemic index.
ถ้า = 100 หมายความว่า ดูดซึมได้เท่ากับอาหาร
มาตรฐาน
ถ้า < 100 หมายความว่า ดูดซึมได้น้อยกว่าอาหาร
มาตรฐาน
ถ้า > 100 หมายความว่า ดูดซึมได้ดีกว่าอาหาร
มาตรฐาน
หลักการออกกำลังกาย
1.ตรวจร่างกายก่อน 2.บอกเเพทย์เกี่ยวกับการออกกำลังกาย 3.ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 4.หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่บริเวรออกกำลังกาย 5.งดออกกำลังกายเมื่อน้ำตาลมากกว่า350
ประโยชนของการออกกําลังกายและคำเเนะนำ
ทําให้การคุมเบาหวานดีขึ้นเนื่องจากมีการเพิ่มการตอบสนองต่ออินซุลินหลังออกกำลังกาย48 ชม.
ข้อแนะนําการออกกําลังกาย
กับเบาหวานชนิดที่หนึ่ง
ไม่ควรออกกําลังกายถ้านํ้าตาลตอนเช้ามากกว่า
250 mg%
ให้กินนํ้าตาลถ้านํ้าตาลในเลือดตํ่ากว่า100 mg
ตรวจนํ้าตาลก่อนและหลังออกกําลังกาย
Thyroid
Goiter
Graves' Disease
ส่งผลให้ต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนออกมามากกว่าปกติ โดยโรคนี้นับเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดภาวะไทรอยด์เป็นพิษ
อาการของโรค ต่อมไทรอยด์โต, หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติหรือเต้นผิดปกตินิ้วมือหรือมือสั่นเบาๆ
การรักษา Graves’s disease
ใช้ยาต้านไทรอยด์Methimazole 7.5-15 mg/dประมาณ 2 ปี หายได้ 40%
PTU ยับยั้งการสังเคราะห์ ไทรอย
ด์ฮอร์โมน ผลข้างเคียงที่สําคัญ คือ ทําให้เม็ดเลือดขาวตํ่า
Hypothyroidism
Critinism ,- Myxenema
ภาวะ myxedema coma เกิดจากต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยผิดปกติอย่างกะทันหัน
อาการแสดงจากภาวะเมตาบอลิสมในร่างกายลดลงอย่างมาก ได้แก่ อุณหภูมิกายต่ำ ความดันโลหิตต่ำ
อาการสำคัญของ hypocalcemia คือ จะมี threshold depolarization ของเส้นประสาทและกล้ามเนื้อลดลง ทำให้ตรวจร่างกายพบลักษณะที่เรียกว่า Chvostek’s sign
Hyperthyroidism
Thyroid crisis
เกิดจากร่างกายผลิตฮอร์โมนไทรอยด์มากเกินไปจนทำให้อวัยวะทำงานล้มเหลว หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นภาวะไทรอยด์เป็นพิษ (thyrotoxicosis)
T3 T4 สูงขึ้น ทำให้เกิดอาการของไทรอยด์เป็นพิษ
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างและปล่อยฮอร์โมนออกมามากเกินไป ส่งผลให้ระบบต่างๆของร่างกาย
ทำงานผิดปกติ เกิดอาการของไทรอยด์เป็นพิษ
Pituitary
Acromegaly
เป็นภาวะที่ร่างกายผลิตโกรทฮอร์โมน(Growth Hormone)ออกมามากผิดปกติ ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตไม่สมส่วน
การรักษา Acromegaly ขึ้นอยู่กับอายุและสุขภาพโดยรวมของผู้ป่วยด้วย โดยมีเป้าหมายในการรักษา คือ ปรับระดับโกรทฮอร์โมนให้เป็นปกติ ลดแรงกดบริเวณรอบ ๆ เนื้องอกต่อมใต้สมอง ช่วยให้ต่อมใต้สมองทำงานเป็นปกติ รักษาการขาดฮอร์โมนและบรรเทาอาการของโรค
DI
โรคที่ร่างกายสูญเสียความสมดุลของน้ำ โดยมีผลมาจากความผิดปกติของฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ซึ่งก่อให้เกิดอาการกระหายน้ำอย่างรุนแรงแม้จะดื่มน้ำเข้าไปแล้วก็ตาม ส่งผลให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากผิดปกติ
โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดปริมาณปัสสาวะที่ผู้ป่วยปัสสาวะในแต่ละวัน วิธีฏิบัติคือ พกน้ำดื่มติดตัวอยู่เสมอ และหมั่นจิบน้ำบ่อย ๆ ในปริมาณที่แพทย์กำหนดเพื่อควบคุมปริมาณปัสสาวะ และไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ
SAIDH
ลักษณะของกลุ่มอาการ SIADH ได้แก่
hyponatremia และ hypoosmolarity
urine osmolarity มีค่าสูงผิดปกติ (> 100 mosm/kg)
urine Na > 20 mmol/day
มีภาวะ Normovolemia
มีการทำงานของต่อมหมวกไต ไต และ thyroid ที่ปกติ
สมดุลย์กรดด่าง และโปตัสเซียมปกติ
โซเดียมในเลือดต่ำ(Hyponatremia) เป็นปัญหาที่สำคัญในผู้ป่วยศัลยกรรมระบบประสาท พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกใต้เยื่ออะแร็กนอยด์ เนื้องอกสมอง และการบาดเจ็บที่สมอง ส่วนมากสาเหตุมักเกิดจากภาวะ (SIADH)
Adrenal
Addison ‘s disease
เป็นภาวะที่ adrenal cortexทํางานน้อยลงทําให้มีการหลั่งmineralcorticoid, glucocorticoid และ sex hormone ลดลงซึ่งอาจเกิดจากการฝ่อ(Idiopathic atrophy)ของ adrenal cortex จากการต้านภูมิต้านทาน (autoimmune)
การรักษา รักษาได้โดยการรับประทานฮอร์โมนสังเคราะห์ เพื่อทดแทนฮอร์โมนที่ร่างกายผลิตไม่ได้ เช่น ไฮโดรคอร์ติโซน เพรดนิโซน
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
คลื่นไส้ อาเจียน
เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
Cushing Syndrome
เกิดจากร่างกายมีระดับฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) สูง ซึ่งอาจเป็นเพราะใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์มากเกินไป
การรักษา Cushing Syndrome
การรักษาใช้วิธีลดระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลในร่างกายที่เพิ่มสูงเกินไป
อาการ
หิวบ่อย กินจุ ใบหน้าอ้วนกลม น้ำหนักเพิ่ม
ปัสสาวะมากและปัสสาวะบ่อย
ผิวหนังแห้ง
Aldosterone
ดูดน้ำเกลือเเร่กลับ
ชั้นใน Adrenaline
หัวใจเต้นเเรงเร็ว เส้นเลือดหดตัว
หลอดเลือดขยาย น้ำตาลในเลือดสูง
Androgen
ฮอร์โมนเพศ
Cortisol
เพิ่มระดับกลูโคสในเลือด
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี UDA6280003