Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การเลือกหนังสือสำหรับเด็ก, หลักการในการเลือกหนังสือสำหรับเด็ก -…
บทที่4 การเลือกหนังสือสำหรับเด็ก
ข้อคิดในการคัดเลือกหนังสืออ่านสำหรับเด็ก
เด็กๆ ไม่ได้อ่านหนังสือเพื่อค้นหาตัวเอง
เด็กๆ ไม่ได้อ่านหนังสือเพื่อปลดปล่อยตัวเอง
เด็กอ่านหนังสือไม่ใช่อ่านการวิจารณ์
เด็กๆ ชิงชังเรื่องทางสังคมวิทยา
เด็กๆ ไม่สนใจเกี่ยวกับเรื่องจิตวิทยา
เด็กๆ คงเชื่อในความดีครอบครัวนางฟ้าปีศาจ
เด็กไม่พยายามที่จะเข้าใจกาฟก้า หรือนวนิยาย
รักจะฟังเรื่องที่น่าสนใจมากกว่าเรื่องการแสดงความคิดเป็นวิพากษ์วิจารณ์
เมื่อหนังสือน่าเบื่อเด็กๆ จะห่างออกมาอย่างเปิดเผย
เด็กไม่คาดหวังว่านักเขียนที่เขารักจะมาปลดปล่อยมนุษยชาติ
หนังสือสำหรับเด็กทั่วๆไป
เค้าโครงเรื่องเค้าโครงเรื่องไม่ซับซ้อน
ตัวละครต้องมีชีวิตชีวาสมจริงและมีบุคลิกภาพเฉพาะ
สไตล์การเขียน
แนวความคิด เรื่องที่ดีควรจะมีแนวความคิดเห็นได้ชัด
ภาพประกอบสวยงามดูสมจริง
หนังสือประกอบการเรียน
การจัดเรียงเนื้อหาวิชาเหมาะสมกับผู้เรียน
มีการสรุปเรื่องให้นักเรียนได้เข้าใจเรื่องที่อ่าน
การใช้ศัพท์และคำชัดเจน
มีเครื่องช่วยในการค้นคว้าสำหรับนักเรียน
ความถูกต้องของเนื้อหาในหนังสือ
ควรเหมาะกับจุดประสงค์ของโรงเรียน
ลักษณะภายนอกของหนังสือ
วารสาร
วารสารนั้นควรมีคอลัมน์หลายๆแบบ
ครูควรแนะนําอยา่งใกล้ชิด
วารสารฉบับสนุนมุ่งส่งเสริม ทางวิชาการ
ควรมีจํานวนวารสารที่มากเพียงพอ
หนังสือแบบเรียน
ความถูกต้องของเนื้อหาวิชาในหนังสือ
ภาษาที่ใช้ในการอธิบายรายละเอียดของเนื้อหาวิชา
เนื้อหาวิชาจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของวิชา
เพื่อความเข้าใจและช่วยในการค้นคว้าสำหรับนักเรียน
ลักษณะภายนอกของหนังสือการเย็บเล่มเข้าเล่ม
หนังสือพิมพ์
ในกรณีที่โรงเรียน ไม่มีมากพอ
อาจจะจัดหาเพียงฉบับเดียว
ต้องเป็นหนังสือพิมพ์ที่อยู่ในความนิยมของคนทั่วไป
ควรเป็นหนังสือพิมพ์ส่วนกลาง
ขั้นตอนในการเลือกหนังสือสำหรับเด็ก
ศึกษาเกี่ยวกับข้อคิดในการเลือกหนังสือสำหรับเด็ก
ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหนังสือการวิเคราะห์
ศึกษาเกี่ยวกับจิตวิทยาการเรียนรู้
ดำเนินการวิเคราะห์
ศึกษาถึงลักษณะของหนังสือที่ดีสำหรับเด็กและหนังสือที่เด็กชอบ
สรุปตัดสินใจเลือกจากค่าการวิเคราะห์หรือประเมินได้
ศึกษาหรือทำความเข้าใจ
หลักการในการเลือกหนังสือสำหรับเด็ก