Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การบริหารงานหอผู้ป่วย - Coggle Diagram
หน่วยที่ 6 การบริหารงานหอผู้ป่วย
6.1การจัดรูปแบบหอผู้ป่วย
หอผู้ป่วยเป็นหน่วยงานย่อยแผนกผู้ป่วยใน การจัดหอผู้ป่วยต้องอาศัยหลักการจำแนกผู้รับบริการเป็นเกณฑ์ เพื่อสามารถจัดบริการพยาบาลให้ได้สะดวกรวดเร็ว
หลักการจัดหอผู้ป่วย
1.ความเป็นสัดส่วน (Privacy) เป็นการจัดบริเวณและสิ่งแวดล้อมรอบเตียงผู้ป่วย
2.ความปลอดภัย (Safety) จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยรู้สึกห่างไกลอันตราย
3.การควบคุมเชื้อโรค (Infection control) หอผู้ป่วยเป็นแหล่งรวมเชื้อโรค การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อโรคเป็นเรื่องที่สำคัญ
4.การควบคุมเสียง (Noise control) เป็นการดูแลไม่ให้เกิดเสียงรบกวนการพักผ่อน
การจัดสถานที่
1.ลักษณะของหอผู้ป่วยที่ดี ควรเอื้อต่อการรักษา มีเนื้อที่ที่เพียงพอ มีความเป็นสัดส่วน มีความปลอดภัย สะดวกต่อการทำความสะอาด
2.ประเภทหอผู้ป่วย
1.จำแนกตามโรคของผู้ป่วย
2.จำแนกตามโรคและการบำบัด
3.จำแนกตามเพศของผู้ป่วย
4.จำแนกตามสมรรถภาพ
5.จำแนกตามวัย
3.วิธีจัดหอผู้ป่วย
1.ระบบเปิด คือ ระบบที่จัดเตียงผู้ป่วยไว้รวมกัน
2.ระบบปิด เป็นระบบการจัดหอผู้ป่วยที่เน้นความสะดวกสบาย
6.2การพัสดุในหอผู้ป่วย
พัสดุ หมายถึง วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง
วัสดุ หมายถึง สิ่งของที่มีลักษณะไม่คงทนถาวร ใช้แล้วหมดไป
ครุภัณฑ์ หมายถึง สิ่งของที่มีลักษณธคงทนถาวร มีอายุการใช้งานยาวนาน
ประเภทความต้องการของพัสดุ
1.ความต้องการขั้นต้น คือความต้องการวัสดุครั้งแรกยังไม่เคยได้รับมาก่อน
1.1 การจัดตั้งหน่วยงานใหม่
1.2การเพิ่มอัตราหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขอัตรา
1.3การกำหนดมาตรฐานขึ้นใหม่
2.ความต้องการทดแทน เพื่อทดแทนพัสดุที่เคยได้รับมาแล้ว 2.1พัสดุนั้นชำรุด
2.2พัสดุนั้นสูญหาย
2.3เพิ่มเติมให้เต็มจำนวนสูงสุดที่จะสะสมไว้ได้
3.ความต้องการสำรอง เพื่อสำรองว้ให้พัสดุจ่ายได้
3.1พัสดุเกณฑ์ปลอดภัย
3.2คุรุภัณฑ์สำรอง
4.ความต้อการพิเศษ คือความต้องการที่ไม่ได้ระบุไว้ในอัตรา 4.1พัสดุนอกอัตรา
4.2พัสดุที่มีความจำเป็นสำหรับสาธารณูปการ
5.ความต้องการเพื่อชดเชยเวลาในการจัดหา เพื่อมีพัสดุใช้ระหว่างที่ดำเนินการจัดหา
มาตราฐานวัสดุครุภัณฑ์และเวชภัณฑ์
1.มาตรฐานการใช้วัสดุเปิดเวียนและเบิกครั้งคราวต่อเดือน
2.มาตรฐานการใช้วัสดุถาวร
3.มาตรฐานการใช้เวชภัณฑ์
การจัดเก็บรักษาและควบคุมเวชภัณฑ์
1.รูปแบบที่เป็นของเหลว
2.รูปแบบที่เป็นของแข็ง
3.รูปแบบอื่นๆ
หลักการแบ่ง
1.สถานที่เก็บ
2.การจัดเก็บ
3.การเก็บรักษา
4.การควบคุม
6.3การจัดระบบงานในหอผู้ป่วย
1.กำหนดวัตถุประสงค์การบริการผู้ป่วย
2.กำหนดของเขตความรับผิดชอบและแผนภูมิการทำงานของเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ
3.กำหนดอัตรากำลังและประเภทของเจ้าหน้าที่แต่ละระดับ
4.กำหนดหน้าที่รับผิดชอบและลักษณะงานที่ทำของเจ้าหน้าที่
5.กำหนดการติดต่อสื่อสารและขั้นตอนการรายงานต่างๆอย่างละเอียด
6.คู่มือปฏิบัติการพยาบาลประจำหอผู้ป่วยทุกหน่วยงาน
7.การวางแผนการพยาบาล
8.นโยบายบริหารบุคคล
9.จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้
10.การบันทึกและการรายงาน
11.การเสริมความรู้ทางวิชาการ
12.มีการติดต่อประสานงานกับพยาบาลวิชาชีพและทีมสุภาพ
13.มีเกณฑ์การประเมิน
6.4การบริหารกิจกรรมการให้บริการในหอผู้ป่วย
ต้องการให้เกิดบริการพยาบาลที่มีคุณภาพสามารถตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้
วิธีการบริการพยาบาล
1.จัดโครงการของหน่วยงานให้เหมาะสมต่อการรองรับผู้รับบริการ
2.จัดระบบบริหารหน่วยงานตามหลักการบริการทั่วไปและหลักการบริการพยาบาล
3.จัดสรรทรัพยากรประเภทต่างๆให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานได้สะดวก
4.จัดระบบการบริหารงานบุคคลที่มีประสิทธิภาพ
5.จัดบุคลากรทางการพยาบาลให้สามารถปฏิบัติงานได้คล่องตัว
6.จัดระบบบันทึกและรายงานที่ชัดเจน
7.จัดระบบการประเมินผลการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
8.กำหนดมาตรฐานบริการพยาบาลเพื่อบ่งชี้ระดับคุณภาพ
ุ6.5การควบคุมคุณภาพการบริการพยาบาลหอผู้ป่วย
โปรแกรมการควบคุมคุณภาพการรพยาบาลสามารถอธิบายโครงสร้างของการดูแลผู้ใช้บริการผลลัพธ์ที่ผู้ใช้บริการได้รับการพยาบาลและกระบวนการพยาบาลที่ใช้การพยาบาล
ปัจจัยสำคัญ
1.กำหนดมาตรฐาน โครงสร้างของการดูแลผู้ใช้บริการ
2.กำหนดเกณฑ์สำหรับกระบวนการและผลลัพธ์ของการปฏิบัติงานพยาบาล
3.ตรวจสอบเปรียบเทียบระหว่างมาตรฐานเกณฑ์และการประเมินผลลัพธ์
4.แจกแจงส่วนดีและส่วนบกพร่องของกระบวนการและผลลัพธ์ของการปฏิบัติการพยาบาล
5.ประเมินการปฏิบีติงานเจ้าหน้าที่ทางการพยาบาลทุกระดับโดยให้เจ้าหน้าที่ทางพยาบาระดับเดียวกันประเมินกันเอง
6.ให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกระบวนการพยาบาลและผลการพยาบาลที่ผู้ใช้ได้รับ
7.ปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ
8.ทำการตรวจสอบคุณภาพพยาบาลใหม่
การตรวจสอบคุณภาพพยาบาล
1.การตรวจสอบการปฏิบัติขณะผู้ใช่บริการอยู่ในโรงพยาบาล
2.การตรวจสอบย้อนหลังเมื่อผู้ใช้บริการกลับบ้านแล้ว
3.การวิเคราะห์การให้การพยาบาลทั้งหมด
4.การตรวจสอบโดยการสังเกตในกลุ่มเดียวกัน
6.6การประเมินตนเองและแผนพฒนาคุณภาพบริการพยาบาล
กระบวนการประเมินผล
1.ประเมินคามก้าวหน้าของผู้รับบริการโดยยึดเป้าของการรักษาพยาบาลเป็นหลัก
2.ประเมินคุณภาพของการพยาบาลในสถาบันโดยใช้การติดตามจากการบันทึกรายงานการรักษาพยาบาล
3.การประเมินคุณภาพของการให้บริการพยาบาลเป็นรายบุคคลโดยประเมินตนเองของเจ้าหน้าที่หรือประเมินโดยผู้นิเทศหรือหัวหน้าทีม
4.การประเมินการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ทั้งหมด ทำเป็นระยะโดยกระทำภายหลังการให้การพยาบาลผู้รับบริการ
การประเมินคุณภาพของการพยาบาล
1.ประเมินโดยการตรวจสอบขณะที่เจ้าหน้าที่ทางการพยาบาลกำลังดำเนินการพยาบาลผู้รับบริการ
2.ประเมินโดยการตรวจบันทึกรายงานต่างๆอย่างเป็นระบบ
การประเมินตนเอง
เป็นเรื่องที่สำคัญพยาบาลควรจะมีการประเมินผลการปฏิบัติตนเองอยู่ส่ำเสมอ เพื่อเป็นการประเมินความสารถของตนเองนอกจากนี้ยังช่วยทำให้่เกิดการปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น