Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนสร้างประวัติศาสตร์ วัฒนาธรรม และความก้าวหน้าของสังคม…
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนสร้างประวัติศาสตร์ วัฒนาธรรม และความก้าวหน้าของสังคมไทย
การสร้างองค์ประกอบความรู้ทางประวัติศาสตร์
ฟาน ฟลัต หรือวัน วลิต
พ่อค้าฮอลันที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
หลักฐานสำคัญ
พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม
จดหมายยเหตุฟาน ฟลีต
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
ซีมง เดอ ลาลูแบร์
ทูตชาวฝรั่งเศสที่เดินทางเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในสมัยพระนารายณ์มหาราช
เขียนจดหมายเหตุลา ลุแบร์
นิโกลาส์ แชนแวส
ชาวฝรั่งเศษที่เดินทางเข้ามาเจริญสัมพันธ์ไมตรีระหว่างไทยในสมัยพระนารายณ์มหาราช
เขียนบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองราชอาณาจักรสยาม
พระสังฆราชปาลเลอกัวซ์
บาทหลวงชาวฝรั่งเสษที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนาและพำพันอยู่ในสมัยรัชกาลที่3
รวบรวมหนังสือ เล่าเรื่องกรุงสยาม
เฮนรี เบอร์นีย์
ทูดชาวอังกฤษที่เดินมาเจรจาทางการทูตในรัชสมัยที่3
บันทึกรายงานเอกสารเบอร์นีย์
เซอร์จอห์น เบาว์ริง
เอกลัครราชทูตพิเศษชางอังกฤษที่เดินทางเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทยในต้นรัชกาลที่ 4
เขียนหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทยชื่อ ราชอาณาจักรและราษฎร
ศิลปกรรม
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
สิลปินชาวอิตาลี ผู้รอบรุ้ด้านประวัติศิลป์ การวิจารณ์ การวิจารณ์ศิลปะและปรัชญาโดยเฉพาะความสามารถทางด้านศิลปะแขนงประติมากรรมและจิตรกรรม
ผลงานสำคัญ
เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปกรและบุกเบิกกรศิลปะในในไทย
ออกแบบปั้นและควบคุมการพระราชานุสาวรียืและอนุสาวรีย์สำคัญเช่น อนุสาวรีย์สุนารี
นายคาร์ล ดอริง
สถาปนิกชาวเยอรมัน นายช่างประจำกรมรถไฟ
ผลงานสำคัญ
ออกแบบวังวงดิศ ดำหนักบางขุนพรหม และพระรามราชนิเวศน์
นายริโกลี
จิตกรชาวอตาลี
ผลงาน
วาดภาพจิตรกรรมเพดานพระที่นั่งอนันัสมาคม
การแพทย์
หมอบรัดเลย์
มิชชันนารีชาวอเมริกาที่เกินทางเข้ามาเผยแผ่ศาสนา
ผลงาน
การปลูกฝี
การผ่าตัด
การฉีดวัคซีน
หมอจบวิชาแพทยศาสตร์จากสหรัฐอเมริกาจึงนำความรู้เข้ามาเผยแพร่ในไทย
หมอเฮาส์
มิชชันนารีชาวอเมริกาที่รักษาคนไข้จำนวนมาก โดยเฉพาะเมื่อเกินอหิวาตกโรคระบาดในกรุงเทพ
นำวิธีการผ่าตัดโดยใช้ยาสลบมาแพร่ในไทย
ซอร์ช บี แมคฟาแลนด์
บุตรของมัชชันนารีชาวอเมริกาที่เกิดในไทย
ผลงานที่สำคัญ
สอนนักฝึกหัดชาวไทยที่รงเรียนแพทย์ยาลัย หรือ โรงพยาบาลศิริราช
การศึกษา
ดร.ซามูเอล อาร์. เฮาร์ และศาสนาจารย์สตีเวน แมมตตูน
ได้เปิดโรงเรียนชายแห่งแรกของไทยหรือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน
บาทหลวงเอมิล ออกุสต์ กอลมเบิร์ต
เจ้าอาวาสอัสชัญ
ได้ก่อตั้งโรงเรียนอาสัมชัญ
นางแฮร์เรียล เฮาส์
ได้เปิดโรงเรียนหญิงล้วน ชื่อ โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง
ต่อมา นางสาวเอตนา ซาราห์โคลได้พัฒนาต่อได้ย้ายโงเรียนไปอยู่ย่างบางกะปิและเปลี่ยนชื่อเป็นวฒนาวิทยาลัย