Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cardio - Coggle Diagram
Cardio
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive heart failure; CHF)
คือภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆได้เพียงพอกับความต้องการในขณะพักหรือขณะออกกำลังทำให้มีเลือดคั่งในระบบไหลเวียนเรียกว่า congestive heart failure
สาเหตุ
ลิ้นหัวใจไมตรัลหรือไตรคัสปิดหรือเอออร์ติกรั่ว
ภาวะไตวายมีการติดเชื้อที่กล้ามเนื้อหัวใจ
มีการติดเชื้อต่อมไทรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ (Hyperthyroidism)
มีความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiomyopathy)
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
บผนังกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างหนาตัวขึ้น
ภาวะเลือดจาง
พยาธิสรีภาพ
หัวใจข้างช้ายล้มเหลว
(Left-sided heart failure)
ส่งผลให้เลือดเหลือค้างในหัวใจห้องล่างซ้ายมากขึ้นความดันเลือดในหัวใจห้องล่างซ้ายจึงสูงขึ้น
จึงสูงขึ้นดังนั้นหัวใจห้องบนซ้ายจึงบีบเลือดส่งมายังหัวใจห้องล่างช้ายน้อยลงปริมาตรเลือดและความดันเลือดในหัวใจห้องบูนซ้ายจึงสูงขึ้นเรื่อย ๆ
เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวลดลงจะทำให้ปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
เลือดจากปอดที่ฟอกแล้วก็จะไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนชายได้น้อยลงเป็นผลให้ความดันเลือดในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้นทำให้ของเหลวออกจากหลอดเลือดฝอยุที่ปอดเข้าสู่ถุงลมทำให้ผู้ป่วยมีภาวะน้ำท่วมปอดหอบเหนื่อยไอและเขียว
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างชายบีบตัวลดลงทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
หัวใจข้างขวาล้มเหลว
(Right-sided heart failure)
เมื่อหัวใจห้องล่างขวาบีบตัวลดลงทำให้ปริมาตรเลือดค้างในหัวใจห้องล่างขวามากขึ้น
ส่งผลให้ความดันในหัวใจห้องล่างขวาเพิ่มขึ้นและในที่สุดจะมีผลกระทบต่อการไหลเวียนของเลือดดำทั่วร่างกายเนื่องจากมีภาวะน้ำคั่ง
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปฟอกที่ปอดได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งมักเกิดจากแรงดันในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้นและกล้ามเเนื้อหัวใจห้องล่างขวาตาย
ทำให้ผู้ป่วยมีอาการบวมตับและม้ามโตลำไส้บวมจนมีอาการจุกแน่นได้ชายโครงมีอาการเบื่ออาหารท้องมานหลอดเลือดดำที่คอโป่งพองและปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน (Noctuna)
อาการเเละอาการแสดง
หัวใจข้างขวาล้มเหลว
ตับโตม้ามโตลำไส้บวมมีอาการแน่นจุกเสียดบริเวณใต้ชายโครงหรือลิ้นปี่
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง (Neck vein engorged)
ฟังหัวใจได้ยินเสียงสาม (s) หรือเสียงคล้ายม้าควบ (Gallop rhythm) ได้ยินชัดเจนบริเวณลิ้นไมตรัล
บวม
หัวใจข้างซ้ายล้มเหลว
ไอ
อาการแสดงของน้ำท่วมปอด
Paroxymal nocturnal dyspnea : PND
ฟังหัวใจได้ยินเสียงสาม (s) หรือเสียงคล้ายม้าควบ (Gallop rhythm) ได้ยินชัดเจนบริเวณ Apex
orthopnea
Basilar pulmonary rales
Dyspnea
การรักษา
หาสาเหตุและแก้ไขภาวะปอดบวมน้ำทั้งสาเหตุชักนำเช่นความดันโลหิตสูงลิ้นหัวใจรั่วกล้ามเนื้อหัวใจตาย
ควบคุมภาวะน้ำและเกลือในร่างกาย จำกัด เกลือและน้ำในอาหารและให้ยาขับปัสสาวะเพื่อลดปริมาณน้ำและเลือดคั่ง
ใส่ท่อและเครื่องช่วยหายใจ
ลดจำนวนเลือดที่ไหลกลับเข้าหัวใจ (Preload) ให้ผู้ป่วยนั่งห้อยขาลงข้างเตียงหรือนอนศรีษะสูงการทำ rotating tourniquets
ให้ยาเพิ่มสมรรถภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจเพื่อช่วยให้ปริมาณเลือดออกจากหัวใจเพิ่มขึ้นเช่นดิจิทาลิส (Digitalis) จอกซินไอโซโปรเทอร์นอล (Isopoterenal) Dopamine, Dobutamine
ลดแรงต้านไหลของเลือดหัวใจ (Afterload) ให้ยากลุ่มช่วยลด afterload และหัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้มากขึ้นยาขยายหลอดเลือดดำกลุ่ม Nitrates
ให้ยาควบคุมการเต้นของหัวใจให้เหมาะสมเช่นดิจิทาลิสโปรพาโนซอลในรายที่เวนตรีเต้นเร็วเพื่อช่วยควบคุมให้เวรตริเคิลเต้นช้าลง
ให้ออกซิเจนความเข้มข้นสูงทางจมูก (Cannular) หรือหน้ากาก ((Facemask)
จำกัด กิจกรรม (limit activity)
กล้ามเนื้ออหัสใจอักเสบ Myocaditis
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ACUTE PERICARDITIS
อาการ
ปวดเหมื่อยตามตัว
เจ็บบริเวณกลางหน้าอกร้าวไปแขนซ้ายหัวไหล่ซ้ายมีอาการมากขึ้นเวลานอนราบกลืนอาหารหรือหายใจเข้า
มีไข้
Pericardial effusion
หมายถึงภาวะที่มีการสะสมของเหลวในซ่อง pericardial sac เกิน 50 ซีซีเป็นภาวะแทรกซ้อนของ pericarditis
การรักษา
การผ่าตัดเมื่อมีข้อบ่งชี้คือภาวะหัวใจวายมีการติดเชื้อที่สามารถคุมได้ด้วยยามีการติดเชื้อลุกลามไปที่กล้ามเนื้อหัวใจเกิด embolization ซ้ำ
การให้ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด: warfarin, heparin
การให้ยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ bactericidal effect นาน 2-4 สัปดาห์
Infective endocarditis
เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียเชื้อรา, rickettsia chlamydia หรือไวรัสที่เกิดบนลิ้นหัวใจและเยื่อบุ endocardium ทำให้เกิดการทำลายของลิ้นหัวใจและมีการกระตุ้นการจับกลุ่มกันของเกร็ดเลือดและ fibrin รวมตัวกันเป็นก้อนยุ่ยและมีลักษณะคล้ายกะหล่ำดอกเรียกว่า infective vegetation
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Acute endocarditis: ภาวะการติดเชื้อที่สิ้นหัวใจชนิดเฉียบพลันตขึ้นอย่างรวดเร็ว (ภายใน 6 สัปดาห์) และรุนแรงเชื้อโรคที่ทำให้เกิดมีความแรงสูง เช่น staphyloccus aureus
Subacute endocarditis: เกิดขึ้นอย่างช้าๆ (มากกว่า 6 สัปดาห์) และไม่ค่อยรุนแรงเชื้อโรคที่ทำให้เกิดมีความรุนแรงไม่มากเช่น streptococcus viridians
สาเหตุ
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันไวต่อยาบางชนิด
ยาที่มีพิษต่อหัวใจและสารเคมี
การติดเชื้อไวรัส (พบได้บ่อยที่สุด)
เชื้อแบคทีเรียเชื้อรา, ricketsia
ไม่ทราบสาเหตุ
อาการ
รักษาที่สาเหตุรักษาตามอาการ ได้แก่ นอนพัก
รักษาภาวะหัวใจวาย / หัวใจเต้นผิดจังหวะให้ยาลดการอักเสบให้ยาปฏิชีวนะ
การรักษา
หัวใจเต้นเร็วหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ตรวจพบหัวใจโตมีอาการของหัวใจวายหอบเหนื่อยฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง murmur
พยาธิสภาพ
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจเกิด fibrosis และ hypertrophy มีผลกระทบต่อระบบการนำสัญญาณไฟฟ้าในหัวใจเกิด arrhythmia และการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจทำให้ขนาดของห้องหัวใจ ventricle ขยายใหญ่เป็นผลให้ขอบวงนอกของลิ้นหัวใจกว้างขึ้นจึงพบการรั่วของ mitral valve ทำให้เกิดหัวใจล้มเหลวตามมา
Valvular Heart Disease
โรคลิ้นนหัวใจ
ลิ้นหัวใจพิการ
Stenosis
หรือการตีบตันของลิ้นหัวใจหมายถึงลิ้นหัวใจที่ไม่สามารถเปิดได้เต็มที่ทำให้ปริมาตรของเลือดที่จะไหลผ่านลิ้นหัวใจออกไปลดลง
Regurgitation incompitency
หรือลิ้นหัวใจรั่วหมายถึงลิ้นหัวใจที่ไม่สามารถปิดสนิททำให้เลือดไหลย้อนกลับขณะที่ลิ้นหัวใจปิด
โรคลิ้นหัวใจ (Valvular Heart Disease)
มีสาเหตุการเกิดหลายประการประกอบด้วยความพิการตั้งแต่กำเนิดและความพิการที่เกิดขึ้นภายหลัง ได้แก่ การติดเชื้อการบาดเจ็บหรือการเสื่อมสภาพของลิ้นหัวใจโรคไข้รูห์มาติกเป็นสาเหตุทำให้เกิดการอักเสบทั่วร่างกายและมักก่อให้เกิดความพิการแบบถาวรของลิ้นหัวใจที่เรียกว่าโรคหัวใจรูห์มาติค (Rheumatic Heart disease))
สาเหตุ
Rheumatic fever ร่วมกับมี carditis ทำให้เกิด fibrous และมีหินปูนจับ (calcification)
อื่น ๆ degeneration, Marian's syndrome, การบาดเจ็บ, myopathy, bacterial endocarditis
การแบ่งผู้ป่วยตามความรุน
แรงของอาการ (functional classification)
class II เหนื่อยง่ายกว่าปกติเมื่อออกแรงมากหรือทำงานหนัก
class III เหนื่อยเมื่อออกแรงเล็กน้อยหรือทำงานเบาๆ
class I ไม่มีอาการเหนื่อยกว่าปกติ
class IV เหนื่อยทั้งที่นอนหรือนั่งเฉยๆ
การพยาบาล
การป้องกันโรคติดเชื้อ
แนะนำการใช้ยากลุ่ม anticoagulant
แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อจำเป็น
severe aortic stenosis ควรละเว้นการออกกำลังกาย
Aortic stenosis
อาการ
เจ็บหน้าอก angina เวลาออกเเรง
หัวใจล้มเหลวอาจหยุดเต้นจาก ventricle fibrillation
หน้ามืดเป็นลมบ่อย
ระยะแรกจะไม่มีอาการ แต่เมื่อเริ่มมีอาการผู้ป่วยจะทรุดลงอย่างรวดเร็ว
ทำให้เลือดคั่งอยู่ใน ventricle ซ้ายและเลือดแดงไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆลดลง
mitral stenosis
ทำให้เลือดคั่งค้างอยู่ใน atrium ซ้ายและเส้นเลือดไปปอดความดันใน atrium ซ้ายสูงขึ้น atrium ซ้ายจะโตและผนังจะหนาเลือดไหลเข้า ventricle ซ้ายลดลงเกิด low cardiac outputatrium ผิดปกติเกิด atrial fibrillation ทำให้เกิด thrombus มีเลือดคั่งในหลอดเลือดดำปอดเกิดภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonary e ทำให้เลือดคั่งค้างอยู่ใน atrium ซ้ายและเส้นเลือดไปปอดความดันใน atrium ซ้ายสูงขึ้น atrium ซ้ายจะโตและผนังจะหนาเลือดไหลเข้า ventricle ซ้ายลดลงเกิด low cardiac outputdema) ventricle ขวาต้องทำงานเพิ่มขึ้นทำให้หัวใจซีกขวาวาย
อาการ
เหนื่อยง่ายหอบในท่านอนราบ (orthopnea) และเวลากลางคืน (paroxysmal noctural dyspnea) ไอเป็นเลือดจากการมีเลือดคั่งในปอด
Systemic emboli ทำให้เกิดการอุดตันหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ
ใจสั่นจาก Atrial fibrillation
บวมพบในระยะสุดท้ายที่มี right side heart failure ร่วมด้วย
mitral regurgitation
ทำให้เลือดไหลกลับจาก ventricle เข้า atrium ซ้ายซึ่งเพิ่มความดันในเส้นเลือดที่ปอดจากการคั่งค้างของเลือดทำให้ความดันใน atrium ซ้ายและความดันเลือดในปอดสูง ventricle ซ้ายขยายหัวใจซีกซ้ายโตและหัวใจซิกซ้ายวาย
aortic regurgitation
อาการ
หลอดเลือดที่คอเต้นเเรงกว่าปกติ
หอบเหนื่อย
ทำให้เลือดใน aorta ไหลกลับเข้า ventricle ซ้ายในระยะ diastole ทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้นหัวใจซีกซ้ายวาย