Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ Myocaditis - Coggle Diagram
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ Myocaditis
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ACUTE PERICARDITIS
อาการ
มีไข้
ปวดเมื่อยตามตัว
เจ็บบริเวณกลางหน้าอกร้าวไปแขนซ้าย หัวไหล่ซ้าย มีอาการมากขึ้นเวลานอนราบกลืนอาหารหรือหายใจเข้า
Pericardial effusion
หมายถึง ภาวะที่มีการสะสมของเหลวในช่อง pericardial sac เกิน 50 ซีซีเป็นภาวะแทรกซ้อนของ pericarditis
สาเหตุ
การติดเชื้อไวรัส (พบได้บ่อยที่สุด) เชื้อแบคทีเรียเชื้อรา ,ricketsia
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันไวต่อยาบางชนิด
ยาที่มีพิษต่อหัวใจและสารเคมี
ไม่ทราบสาเหตุ
พยาธิสภาพ
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ เกิด fibrosis และ hypertrophy
มีผลกระทบต่อระบบการนำสัญญาณไฟฟ้าในหัวใจเกิดarrhythmia และ การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้ขนาดของห้องหัวใจ ventricle ขยายใหญ่เป็นผลให้ขอบวงนอกของลิ้นหัวใจกว้างขึ้น จึงพบการรั่วของ mitral valve ทำให้เกิดหัวใจล้มเหลวตามมา
อาการ
หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ตรวจพบหัวใจโต มีอาการของหัวใจวาย หอบเหนื่อย ฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง murmur
การรักษา
รักษาที่สาเหตุ
รักษาตามอาการ ได้แก่ นอนพัก รักษาภาวะหัวใจวาย/หัวใจเต้นผิดจังหวะ ให้ยาลดการอักเสบ ให้ยาปฏิชีวนะ
Infective endocarditis
เป็นโรคติดเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา, rickettsia chlamydia หรือไวรัสที่เกิดบนลิ้นหัวใจและเยื่อบุendocardium ทำให้เกิดการทำลายของลิ้นหัวใจ และมีการกระตุ้นการจับกลุ่มกันของเกร็ดเลือดและ fibrin รวมตัวกันเป็นก้อนยุ่ยและมีลักษณะคล้ายกะหล่ำดอก เรียกว่า infective vegetation
แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
Acute endocarditis : ภาวะการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจชนิดเฉียบพลัน เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว(ภายใน 6 สัปดาห์) และรุนแรง เชื้อโรคที่ทำให้เกิดมีความรุนแรงสูง เช่นstaphylococcus aureus
Subacute endocarditis : เกิดขึ้นอย่างช้าๆ (มากกว่า 6 สัปดาห์) และไม่ค่อยรุนแรง เชื้อโรคที่ทำให้เกิดมีความรุนแรงไม่มาก เช่น streptococcus viridians
ปัจจัยเสี่ยง
การฉีดยาเข้าเส้นเลือดที่มีการปนเปื้อน
ลิ้นหัวใจเทียม
การผ่าตัดใหญ่ หรือการผ่าตัดที่เกี่ยวข้องกับ
เส้นเลือด
ความผิดปกติของหัวใจ
โรคกรรมพันธุ์
เคยมีการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจมาก่อน
ภาวะแทรกซ้อน
การรั่วและการตีบของลิ้นหัวใจ ลิ้นหัวใจที่พบบ่อยได้แก่ mitral valve และ aortic valve
หัวใจล้มเหลว
การติดเชื้อ และเป็นหนอง ในกล้ามเนื้อ
หัวใจ,pericarditis
Septic embolus ที่พบในสมอง ไต และปอด
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ bactericidal effectนาน 2-4 สัปดาห์
การผ่าตัด เมื่อมีข้อบ่งชี้ คือ ภาวะหัวใจวาย มีการติดเชื้อที่สามารถคุมได้ด้วยยา มีการติดเชื้อลุกลามไปที่กล้ามเนื้อหัวใจ เกิด embolization ซ้ำ
การให้ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด : warfarin,heparin
การป้องกัน
โดยการให้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาเกี่ยวกับทันตกรรมและหัตถการอย่างอื่นในผู้ป่วยที่มีอัตราเสี่ยง