Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การบริหารงานหอผู้ป่วย, นางสาวรัชดาวรรณ ภารแสวง 60440101046 …
หน่วยที่ 6
การบริหารงานหอผู้ป่วย
6.2 การจัดพัสดุในหอผู้ป่วย
การจัดการพัสดุและเวชภัณฑ์
เป็นงานสนับสนุนหลักของโรงพยาบาลเพราะพัสดุเป็นองค์ประกอบที่จำเป็นต่อการจัดให้บริการการพยาบาล และความต้องการพัสดุจะมีตลอดเวลาทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินความคล่องตัวของการจัดการพัสดุจะนำไปสู่การบริการพยาบาลที่มีคุณภาพ
ประเภทความต้องการของพัสดุ
แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ
ความต้องการขั้นต้น หมายถึง ความต้องการพัสดุเป็นครั้งแรกซึ่งยังไม่เคยได้รับมาก่อนเพื่อให้สามารถปฏิบัติ
ราชการได้ สามารถเกิดขึ้นในกรณีดังต่อไปนี้
1.1 การจัดตั้งหน่วยงานใหม่
1.2 การเพิ่มอัตราหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขอัตรา
1.3 การกำหนดมาตรฐานพัสดุขึ้นใหม่
ความต้องการการทดแทน หมายถึง ความต้องการเพื่อทดแทนพัสดุที่เคยได้รับมาแล้ว
2.1 พัสดุนั้นชำรุดหรือเสื่อมสภาพการใช้งาน
2.2 พัสดุนั้นสูญหายหรือเสียหายจากสาเหตุอื่น
2.3ให้เต็มจำนวนสูงสุดที่จะสะสมไว้ได้เพื่อการจัดสนอง
ความต้องการสำรอง หมายถึง ความต้องการพัสดุเพื่อสำรองไว้ให้มีพัสดุจ่ายได้
3.1 พัสดุเกณฑ์ปลอดภัย
3.2 คุรุภัณฑ์สำรอง
ความต้องการพิเศษ หมายถึง ความต้องการที่ไม่ได้ระบุไว้ในอัตรา แต่บางครั้งหน่วยงานอาจมีความจำเป็นต้องใช้ ได้แก่
4.1 พัสดุนอกอัตรา
4.2 พัสดุที่มีความจำเป็นสำหรับสาธารณูปการ
ความต้องการเพื่อชดเชยเวลาในการจัดหาหรือเวลาในการเบิก
บทบาทพยาบาลในการบริหารพัสดุ
ต้องศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับพัสดุต้องรู้วิธีการใช้พัสดุเป็นอย่างดี
สามารถวางแผนความต้องการใช้พัสดุรวมทั้งแผนงบประมาณในการจัดหาพัสดุได้
มีส่วนร่วมในการเสนอความต้องการพัสดุเบิกใช้เท่าที่จำเป็น
ใช้พัสดุอย่างประหยัดและระมัดระวังป้องกันมิให้พัสดุเสียหาย
ตรวจรับพิจารณาคุณภาพและประเมินผลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของพัสดุ
ควบคุมเก็บรักษาและจำหน่ายพัสดุมิให้มีของคลังพัสดุมากเก่าเก็บและใช้แต่ของใหม่
เก็บหลักฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริหารพัสดุ
ให้ความร่วมมือในการทำวิจัยเกี่ยวกับพัสดุ
6.3 การจัดระบบงานในหอผู้ป่วย
กำหนดวัตถุประสงค์การบริการผู้ป่วย
กำหนดขอบเขตความรับผิดชอบและ
แผนภูมิการทำงานของเจ้าหน้าที่ระดับต่าง ๆ
กำหนดอัตรากำลังและประเภทของเจ้าหน้าที่
แต่ละระดับซึ่งควรคำนึงถึง
กำหนดหน้าที่รับผิดชอบและลักษณะ
งานที่ทำ
กำหนดการติดต่อสื่อสารและขั้นตอน
การรายงานต่าง ๆอย่างละเอียด
คู่มือปฏิบัติการพยาบาลประจำ
หอผู้ป่วยทุกหน่วยงาน
การวางแผนการพยาบาล
นโยบายบริหารบุคคล
1.ศึกษาบุคลากรเพื่อทราบลักษณะความรู้ความสามารถ
ความถนัดเพื่อมอบหมายงานได้เหมาะสม
2.ต้องมีระเบียบวินัยมีความยุติธรรม
3.มีการอบรมปฐมนิเทศสำหรับผู้เข้าทำงานใหม่
4.ประเมินผลการทำงานของเจ้าหน้าที่เป็นระยะ ๆ
เพื่อแก้ไขปรับปรุง
5.มีบันทึกและรายงานของเจ้าหน้าที่พยาบาลทุกระดับ
6.1 การจัดรูปแบบหอผู้ป่วย
หลักการจัดหอผู้ป่วย
ความเป็นสัดส่วน (privacy) เป็นการจัดบริเวณและสิ่งแวดล้อม
รอบเตียงผู้ป่วยเฉพาะ
ความปลอดภัย (safety) ควรจัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยรู้สึกห่างไกลจากความอันตรายหรืออุบัติเหตุต่างๆ
การควบคุมเชื้อโรค (infection control) เนื่องจากหอผู้ป่วยเป็น
แหล่งรวมของเชื้อโรค
การควบคุมเสียง (noise control) เป็นการดูแลเพื่อไม่ไห้เกิดเสียง
ดังรบกวนการพักผ่อนของผู้ป่วย
ลักษณะของหอผู้ป่วยที่ดี
1.1 เอื้อต่อการรักษาและการพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2 มีเนื้อที่เพียงพอและสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
1.3 มีความเป็นสัดส่วนของผู้ป่วยแต่ละราย
1.4 ให้ความปลอดภัยแก่ผู้ป่วยในด้านการดูแลความเร่งด่วน
1.5 สะดวกต่อการทำความสะอาดและควบคุมการแพร่กระจายของ
เชื้อโรค
1.6 ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีต่อผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ
ประเภทหอผู้ป่วย
1 จำแนกตามโรคของผู้ป่วย
2 จำแนกตามโรคและการบำบัด
3 จำแนกตามเพศของผู้ป่วย
4 จำแนกตามสมรรถภาพหรือระยะการเจ็บป่วย
5 จำแนกตามวัย ได้แก่ หอผู้ป่วยผู้ใหญ่ หอผู้ป่วยเด็ก
วิธีการจัดหอผู้ป่วย
วิธีที่ 1 การจัดห้องพยาบาลอยู่ตรงกลางหอผู้ป่วย
วิิธีที่ 2 การจัดห้องพยาบาลอยู่ด้านหนึ่งของหอผู้ป่วย
6.4 การบริหารกิจกรรมการให้บริการในหอผู้ป่วย
**ผู้บริหารการพยาบาลระดับกลุ่มงานหัวหน้างาน และหัวหน้าหอผู้ป่วย
จัดโครงสร้างของหน่วยงานให้มีความเหมาะสมต่อการรองรับผู้
รับบริการ
จัดระบบการบริหารหน่วยงานตามหลักการบริหารงานทั่วไปและ
หลักการบริหารการพยาบาล
จัดสรรทรัพยากรประเภทต่างๆ ให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานได้อย่าง
สะดวก
จัดระบบการบริหารงานบุคคลที่มีประสิทธิภาพ
จัดบุคลากรทางการพยาบาลให้สามารถปฏิบัติงานได้คล่องตัว
ตลอด 24 ชั่วโมง
จัดระบบการบันทึกและการรายงานที่ชัดเจน
จัดให้มีระบบการประเมินผลการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
กำหนดมาตรฐานบริการพยาบาลเพื่อบ่งชี้ระดับของคุณภาพ
6.5 การควบคุมคุณภาพการบริการพยาบาลหอผู้ป่วย
กำหนดมาตรฐาน โครงสร้างของการดูแลผู้ใช้บริการ
กำหนดเกณฑ์สำหรับกระบวนการและผลลัพธ์ของการ
ปฏิบัติงานการพยาบาล
ตรวจสอบเปรียบเทียบระหว่างมาตรฐานเกณฑ์และการประเมิน
ผลลัพธ์
แจกแจงส่วนดีและส่วนบกพร่องของกระบวนการและผลลัพธ์
ของการปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินผลการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ทางการพยาบาลทุกระดับโดย
ให้เจ้าหน้าที่ทางการพยาบาลระดับเดียวกันประเมินกันเอง
ให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกระบวนการพยาบาลและผลการ
พยาบาลที่ผู้ใช้บริการได้รับ
ปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ
ทำการตรวจสอบคุณภาพการพยาบาลใหม
การตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล
สามารถทำการตรวจสอบได้ดังนี้
การตรวจสอบการปฏิบัติขณะผู้ใช้บริการอยู่ในโรงพยาบาล
การตรวจสอบย้อนหลังเมื่อผู้ใช้บริการกับบ้านแล้ว
การวิเคราะห์การให้การพยาบาลทั้งหมด
การตรวจสอบโดยการสังเกตในกลุ่มเดียวกัน
6.6 การประเมินตนเองและแผนพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล
การประเมินคุณภาพของการพยาบาล
การประเมินคุณภาพการให้การพยาบาล
*
ประเมินโดยการตรวจสอบขณะที่เจ้าหน้าที่ทางการพยาบาล
กำลังดำเนินการพยาบาลผู้รับบริการ
ประเมินโดยการตรวจบันทึกรายงานต่าง ๆอย่างเป็นระบบ
การประเมินผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ (evaluation of personal)
การประเมินผลการทำงานของเจ้าหน้าที่นอกจากจะเป็นการประเมินเพื่อรักษาคุณภาพและปรับปรุง
การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่แล้วการประเมินผลยังช่วยทำให้ผู้รับบริการได้รักษาพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ
การประเมินตนเอง (self-evaluation)
การประเมินตนเองเป็นเรื่องที่มีความสำคัญพยาบาลควรจะมีการประเมินผลการปฏิบัติของตนเองอยู่สม่ำเสมอทั้งนี้เพื่อเป็นการประเมินความสามารถของตนเองนอกจากนี้ยังช่วยทำให้เกิดการปรับปรุงการ
ปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
นางสาวรัชดาวรรณ ภารแสวง 60440101046
นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4