Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบเศรษฐกิจ (ECONOMIC SYSTEM) - Coggle Diagram
ระบบเศรษฐกิจ (ECONOMIC SYSTEM)
ประโยชน์ของวชิาเศรษฐศาสตร์
ประโยชน์ที่เกิดกับผู้ศึกษาโดยตรง ผู้ศึกษาจะเข้าใจหลัก ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร ์ เข้าใจภาวะเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจ ทําใหป้ รบัตัวเข้ากับเหตุการณ ์ การเปลี่ยนแปลงได้อย่างดี สามารถดํารงชวีติ ประจําวนั ได้อยา่ งมีหลักเกณฑ์
ประโยชน์์ ในฐานะผู้บรโิภคทําใหผู้บริโภคตัดสินใจเลือกบรโิภคสินค้าและบริการที่ ตนได้รับความพอใจสูงสุดภายใต้ระดับรายได้ที่มีอยู่ เป็นการใชทรัพยากรอย่า งประหยัด คุ้มค่าและเกิดประโยชน ์ มากที่สุด นอกจากนี้ชวยใหผู้บรโิภคเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ และปรบัตัวให้ทันต่อสถานการณ ์ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ตลอดจนรู้จักกการออม แสวงหารายได้และรายจ่ายอย่างงคุ้มค่า
ประโยชน์ ในฐานะผู้ผลิตทําใหผ้ ู้ผลิตตัดสินใจเลือกใช้ทรัพพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัดไปในการผลิตสินค้าและบริการ รอย่างคุ้มค่า ปรหยัด ช่วยลดต้นทุนการผลิตทําให้ธุรกิจได้รับกําไรเพิ่ม ขึ้น นอกจากนี้ช่วยใหผู้ผลิตเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสภาวะทางเศรษฐกิจ และปรับตัวใหทั้นต่อสถานการณ์การที่เกิดขึ้นสามารถตัดสินใจเลือกลงทุนหรอืดําเนิน ธุรกิจได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์นั้นๆ
ประโยชนในฐานะรฐับาล ทําใหผู้บริหารเข้าใจลักษณะโครงสรา้งทางเศรษฐกิจของประเทศ สามารถวเิคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหาทางเศรษฐกิจและหาแนวทางแก้ไข โดยกําหนดออกมาเป็นแผนและนโยบายทางเศรษฐกิจที่จะนําไปใชใ้นการแก้ปัญหา ใหเ้กิดประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศ
ความหมาย
หมายถึง หน่วยกิจกรรมทางเศรษฐกิจย่อยมากมายมารวมตัวกันดําเนินการผลิตในสังคมโดยใช้หลักการแบ่งงานกันตามความถนัด มีการปฏิบัติภายใต้ระเบียบ กฎเกณฑ์ นโยบาย และแนวทางการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกัน หน่วยเศรษฐกิจ : คือ หน่วยงานที่มีอยู่ในระบบเศรษฐกิจ จะทําหน้าที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่สําคัญทางด้านเศรษฐกิจอัน ได้แก่การผลิต การบริโภค และการแจกจ่ายสินค้าและบริการหน่วยเศรษฐกิจเป็นหน่วยงานที่มีอยู่ในแต่ละระบบเศรษฐกิจจะทําหน้าที่แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบด้วยหน่วยครัวเรื่อนหรอืผู้บริโภค หน่วยธุรกิจหรือผู้ผลิต และองค์การของรฐับาล
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจที่รัฐเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต วางแผนและควบคุมการผลิตบางประเภท โดยเฉพาะการผลิตที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกันของประชาชน เช่น การสาธารณูปโภค ต่างๆ สถาบันการเงิน ป่าไม้ เอกชนถูกจํากัดเสรีภาพในกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะส่วนที่เป็นผลประโยชน ์ ของส่วนรวม ดําเนินการได้เพียงอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมขนาดย่อม ทั้งนี้เพื่อแก้ไข้ปัญหาความแตกต่างด้านฐานระหว่างคนรวยและคน
ลักษณะสําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
รัฐคุมการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกรูปแบบ
ไม่มีการแข่งขันเกิดขึ้น
-รัฐสัง้การผลิตคนเดียว
มีการวางแผนจากส่วนกลาง
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจที่เปิดโอกาสให้ บุคคลทั่วไปเลือกตัดสินใจดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามความ สามารถและโอกาสของตนโดยอาศัยตลาดและราคาในการเลือก โดยรฐัหรอืเจ้าหน้าที่จากส่วนกลางมีบทบาทเกี่ยวข้องน้อยมาก
ลักษณะสําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
ทรัพยสินและปัจจัยการผลิตเป็นของเอกชน
เอกชนเป็นผู้ดําเนินการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยผ่านกลไกราคา และมีกําไรเป็นแรงจูงใจ
มีการแข่งขันเป็นรากฐานของระบบเศรษฐกิจ
รัฐม่เข้าแทรกแซงทางเศรษฐกิจ มีบทบาทเพียงการรกัษาความสงบเรียบร้อย ความยุติธรรม
เพื่อใหเ้อกชนมีความมัน+ ใจในการทําธุรกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เป็นระบบเศรษฐกิจที่ผสมระหว่างระบบทุนนิยมกับสังคม นิยม มีรฐั เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตหรอืควบคุมการผลิตขนาดใหญ่ แต่ปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่เป็นของเอกชน การกําหนดราคาขึ้นกับกลไกแห่งราคาของตลาด
ลักษณะสําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบผสม
เอกชนมีเสรีภาพ
มีการแข่งขัน แต่รฐัอาจแทรกแซง
การผลิตได้บ้าง
รัฐดําเนินกิจการบางอย่างในรูปของรฐัวิสาหกิจ เชน่ สาธารณูปโภค
(ไฟฟ้า ประปา )
มีการวางแผนจากส่วนกลางและมีสวสั ดิการจากรฐ
องค์ประกอบหลักของระบบเศรษฐกิจ
หน่วยเศรษฐกิจ
หน่วยครัวเรือน
หน่วยธุรกิจ
หน่วยรฐับาล
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
บรโิภค
ผลิต
แลกเปลี่ยน
นายยงยศ จันปัญญา เลขที่ 15 B