Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคต้อกระจก ต้อหิน, นางสาวผกาวดี ทิคำมูล รหัสนักศึกษา62011108011…
การพยาบาลโรคต้อกระจก ต้อหิน
ความหมาย ต้อกระจก (Cataract)
ต้อกระจกเป็นภาวะที่แก้วตาหรือเลนส์ตา (lens) ภายในลูกตามีลักษณะขุ่นขาวขึ้นจากปกติที่มีลักษณะโปร่งใสเหมือนกระจกเมื่อแก้วตาขุ่นขาวก็จะมีลักษณะที่บแสงไม่ยอมให้แสงผ่านเข้าสู่ลูกตาไปรวมตัวที่จอตา (เรตินา) ทำให้เกิดอาการตาฝ้าฟางหรือมืดมัว
สาเหตุ
ส่วนใหญ่ (ประมาณ 95%) เกิดจากภาวะเสื่อมตามวัยคนที่มีอายุมากกว่า 60 ปีจะเป็นต้อกระจกแทบทุกคน แต่อาจเป็นมากน้อยต่างกันไปเรียกว่าต้อกระจกในคนสูงอายุ ((senile cataract)
ส่วนน้อยอาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่นเป็นมา แต่กำเนิดการได้รับบาดเจ็บความผิดปกติของตาเช่นม่านตาอักเสบ, ต้อหินยาหยอดตาที่เข้าสเตอรอยด์หรือกินเสเตอรอยด์นาน ๆ รังสีผู้ป่วยเบาหวานภาวะขาดอาหาร
อาการ
ตามัวลงเรื่อย ๆ ทีละน้อยตามัวเหมือนมีหมอกบังมองในที่มืดชัดกว่าที่สว่างหรือถูกแสงสว่างจะรู้สึกตาพร่ามัวสู้แสงไม่ได้หรือมองเห็นภาพซ้อน
อาการตามัวจะเป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ กินเวลาเป็นแรมเดือนแรมปีจนในที่สุดเมื่อแก้วตาขุ่นขาวจนหมด (เรียกว่าต้อสุก) ก็จะมองไม่เห็นสำหรับต้อกระจกในคนสูงอายุมักจะเป็นที่ตาทั้งสองข้าง
พยาธสภาพ
ต้อกระจกแก้วตาประกอบด้วยน้ำ 65% โปรตีน 35% แร่ธาตุต่างๆในระยะแรกจะมีการซึมผ่านของน้ำมากกว่าภาวะปกติทำให้เนื้อเยื่อของแก้วตาบวมเมื่อถึงระยะต้อกระจกสุกจำนวนน้ำที่เพิ่มขึ้นจะลดลงความหนาแน่นของแก้วตาจะค่อยๆลดลงเกิดการสูญเสียธาตุโพแทสเซียมโดยมีธาตุโซเดียมเข้ามาแทนที่เพื่อรักษาสมดุลแคลเซียมมาสะสมมากขึ้นการใช้ออกซิเจนลดลงขณะเดียวกันจะเกิดความไม่สมดุลของโปรตีนชนิดของต้อกระจก
ชนิดของต้อกระจก
ต้อกระจกโดยกำเนิด (congenital cataract)
ต้อกระจกโดยกำเนิด (congenital cataract) มักเกิดเนื่องจากพันธุกรรมหรือเกิดจากการพัฒนาที่ผิดปกติเนื่องจากมารดาติดเชื้อไวรัสพวกหัดเยอรมัน (Rubella)
ตั้งครรภ์ 3 เชื้อไวรัสพวกหัดเยอรมัน (Rubella) ขณะตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก
ต้อกระจกทุติยภูมิ (secondary cataract)
•สาเหตุจากภยันตรายจากโรคเบาหวานจากการได้รับยาเสตียรอยด์และได้รับแสงอุลตราไวโอเล็ตเป็นเวลานาน ๆ
ต้อกระจกในวัยสูงอายุ (senile cataract)
1.1 ต้อกระจกเริ่มเป็น (immature cataract) จะมีการขุ่นของแก้วตาที่คอร์เท็กซ์ (cortex) แต่นิวเคลียสในหรือทึบตรงนิวเคลียส
1.2 ต้อกระจกสุก (mature cataract) ทั้งคอร์เท็กซ์และนิวเคลียสขุ่นหมดผู้ป่วยจะมองไม่เห็นอะไรในระยะที่จะวัดความสามารถในการมองเห็น (visual acuity = V.A.) อาจจะได้ finger count จนถึง hand movement
1.3 ต้อกระจกสุกงอม (hypermature cataract) ระยะนี้โปรตีนในแก้วตาจะมีการดูดซึม (osmosis) ดึงน้ำเข้าไปทำให้แก้วตาบวมวัดสายตาได้ PI (projection oflight)
อาการ
แทรกซ้อนต้อสุกและไม่ได้รับการผ่าตัดจะทำให้ตาบอดสนิทในบางคนแก้วตาอาจบวมหรือหลุดลอย
อุดกั้นทางระบายของของเหลวในลูกตาทำให้ความดันภายในลูกตาสูงขึ้นจนกลายเป็นต้อหินได้ผู้ป่วยจะมีอาการปวดตาอย่างรุนแรง
การรักษา
การผ่าตัด มีดังนี้
1.Extracapsular Cataract Extraction (ECCE
2.Intracapsular Cataract Extraction (ICCE)
4.Phacoemulsification with Intraocular Lens (PE C IOL)
3.Extracapsular Cataract Extraction with Intraocular Lens (ECCE c IOL)
อาการ
แทรกซ้อน
ต้อสุกและไม่ได้รับการผ่าตัดจะทำให้ตาบอดสนิท
แก้วตาอาจบวมหรือหลุดลอยไปอุดกั้นทางระบายของของเหลวในลูกตา
การรักษา
การผ่าตัดรอจนกว่าต้อสุกยกเว้นทารกที่เป็นต้อกระจกมา แต่กำเนิดอาจต้องผ่าตัดเมื่ออายุได้ 6 เดือน
ป้องกันมิให้ประสาทตาเสื่อมการผ่าตัดเอาแก้วตาออก (lens extraction) ไม่มียาที่ใช้กินหรือหยอดแก้อาการของต้อกระจกได้
อาการแทรกซ้อนหลังผ่าตัดต้อกระจก
ความดันลูกตาสูง (Increase intraocular pressure) IOP เกิดจากผลของการไอจามการอาเจียน
การนอนตะแคงข้างที่ผ่าตัดความดันจะสูงกว่า 20 มม. ปรอท
การดึงรั้งของแผลเย็บ (stress on the suture Line)
เลือดออกในช่องหน้าม่านตา (hyphenna)
.4. การติดเชื้อ (infection) เกิดจากตาถูกน้ำ
5.vetreous prolapse เกิดจากการแตกของ posterior capsule
ท่อทางเดินน้ำตาเกิดการติดเชื้อเกิดจากการบาดเจ็บขณะผ่าตัดในการใส่เลนส์
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากตามัวและสูงอายุ
วิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการผ่าตัดและการดูแลตนเองก่อนผ่าตัด
วิตกกังวลเนื่องจากไม่คุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและเครื่องใช้
การพยาบาลเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
ให้ผู้ป่วยนอนเตียงเตี้ยและล้อเตียงสามารถล็อคได้
อธิบายสิ่งแวดล้อมภายในห้องหรือตึกผู้ป่วยรวมทั้งการใช้ห้องน้ำห้องส้วมการใช้กริ่งเพื่อขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่
. ไม่เร่งรีบผู้ป่วยในขณะทำกิจวัตรประจำวัน
ผู้ป่วยมีความพร้อมทางด้านร่างกายก่อนผ่าต
ตรวจปัสสาวะเอกซเรย์ปอดตรวจเอดส์ (anti-HIV)
-ตรวจจำนวนเม็ดเลือด (complete blood count)
ตรวจน้ำตาลในเลือดในกรณีผู้ป่วยมีประวัติโรคเบาหวานวัดความดันโลหิตและล้างถุงน้ำตา (irrigate sac)
การพยาบาลเพื่อลดความพร่องในการดูแลตนเอง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ตาภายหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อช่วยลดอาการปวดตา
Glaucoma
ภาวะที่มีความดันลูกตาสูงทำให้มีความผิดปกติของการมองเห็นลานสายตาผิดปกติเนื่องจากมีการทำลายปมประสาทขอจอประสาทตาและเส้นประสาทตาฝ่อถ้าไม่ได้รับการรักษาจะทำให้ตาบอด
ความดันลูกตาที่ปกติเฉลี่ย 15.5 -20.5 มม. ปรอทความดันที่อยู่ในช่วงซึ่งไม่ทำให้เกิดการทำลายของขั้วประสาทตา (glaucomatous optic nerve damage) มีความสัมพันธ์กับระบบการไหลเวียนของ Aqueous humor
Aqueous production Resistance to aqueous outflow Episcleral venous pressure Intra ocular pressure: IOP
ปัจจัยเสี่ยง
อายุมากกว่า 40 ปีมีโอกาสเป็นโรคเพิ่มขึ้น 2 เท่า
เพศพบในเพศหญิงมากกว่าชายมีโรคประจำตัวเช่นความดันโลหิตสูงเบาหวาน ฯลฯ
ความผิดปกติของสายตามีโอกาสเป็นมากกว่าผู้ที่มีสายตาปกติเนื่องจากผู้ที่มีสายตาผิดปกติจะมีขนาดและรูปร่างของขั้วประสาทตา
การแบ่งชนิดของต้อหิน
ความรุนแรง
ชนิดความรุนแรง
ชนิดของต้อหินตามความรุนแรง
Acute glaucoma
Chronic glaucoma
สาเหตุ
Aqueous production
2.Resistance to aqueous outflow
3.Episcleral venous pressure Intra ocular pressure
นางสาวผกาวดี ทิคำมูล รหัสนักศึกษา6201110801100