Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับอวัยวะรับสัมผัส, นาสาวแพวรุ่ง คำผอง รหัส 62111301065…
การพยาบาลเกี่ยวกับอวัยวะรับสัมผัส
หู
Anatomy
External ear
External auditory meatus
Ear drum
Auricle
Middle ear
Stapes
Incus
Malleous
Eustachian tube
Inner ear
Bony labyrinth
Vestibule
Semicircular canal
Cochlea
Membranous labyrinth
Cochlear duct
Utricle
Saccule semicircular duct
กลไกการได้ยิน
Air conduction pathway
เสียงผ่านจากรูหูไปเยื่อแก้วหู ทำให้กระดูกทั้ง 3 สั่น ผ่าน Oval window
Bone conduction pathway
เสียงสั่นผ่านกระดูกมาสตอย์เข้าไปหูชั้นในบริเวณ Cochlea
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
หูอื้อ ได้ยินน้อยลง Hearing loss
มีเสียงดังในหู Tinnitus
มีของเหลวไหลออกจากหู Otorrhea
เวียนศีรษะ Dizziness or vertigo
ปวดหู Otalgia
ตรวจร่างกาย
ตรวจหูภายนอก
จะเป็นการดูและคลำ
Otoscopy
ตรวจด้วยไม้พันสำลี ค่อยๆเเตะช่องหูเจ็บที่ไหนให้ตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ
ตรวจเยื่อแก้วหู Tympanic membrane
ตรวจศีรษะและคอ
ช่องปาก
Temporomandibular joint
ช่องจมูก sinus
ช่องคอทั้ง 3 ส่วน กล่องเสียง หลอดลม
ตรวจดูต่อมน้ำเหลืองข้างเคียง
การตรวจพิเศษ
การถ่ายรังสีของหู คอ จมูก, Ct scan, MRI
การนัดตรวจซ้ำเป็นระยะ
การตรวจพิเศษด้วยเครื่องมือ
ทดสอบการได้ยิน(นิยมตรวจ)
Tuning fork test
Weber test สำหรับการนำเสียงบกพร่อง
ระบบการนำเสียงบกพร่อง = ข้างมีปัญหาได้ยินชัดกว่า
ระบบประสาทบกพร่อง = ข้างที่ดีได้ยินดีกว่า
ปกติ = ได้ยิน 2 ข้าง
Rine test จำแนกประเภทการสูญเสียการได้ยิน
Positive = AC>BC
Negative = BC<AC
False negative rinne = BC>AC
Adiometry
นักโสตสัมผัสวิทยาจะตรวจสอบความสามารการได้ยิน
โดยการเปิดเสียงไล่ระดับจากดังมากไปสู่เสียงดังน้อยๆ
Speech Audiometry
Speech Reception Threshold (SRT)
พูดด้วยเสียงที่ต่ำสุดใช้ 2 พยางค์ เป็นวิธีที่บอกถึงความไวในการรับเสียง
Speech Discrimination
ประสิทธิภาพของหุในการแยกเสียงและเข้าใจความหายของคำ ใช้พยางค์เดียว
Vestibular Fuction test
Unterberg's test ทำเหมือนRomberg's ยื่นมือไปข้างหน้า หลับตา ย่ำเท้าอยู่กับที่
Gait test เดินตามเเนวเส้นตรงแล้วหมุนตัวเร็วๆกลับมาที่เดิม
Romberg's test ยืนตรง ส้นเท้าต่อปลายเท้า มองตรง
Nystagmus
อาการตากระตุก ทำ Head Shaking เเนวราบ 20 ครั้ง
Position test ให้นอน จับศีรษะตะแคงซ้าย ขวา หงาย ตรง ประเมิน Vertigo
Hearing Loss
สาเหตุ
CHL
SNHL
Congnital Sensorineural Hearing Loss
Acquired Sensorineural Hearing Loss
Presbycusis
Noise induced hearing loss
Drug induced hearing loss
Infection
Trauma
Meniere's disease
Tumor
Vascular cause
Autoimmune
Sudden sensorineural hearing loss
4 ประเภท
Sensorineural Hearing Loss ; SNHL
Mixed Hearing Loss
Conductive Hearing Loss ; CHL
Cental Hearing Loss
โรคที่พบบ่อย
หูชั้นนอก
ขี้หูอุดตัน Cerum Impaction
สาเหตุ
ขี้หูสามารถอุดตันได้แต่บางครั้งก็เกิดปัญหา
พยาธิสภาพ
ขี้หูถูกสร้างขึ้นมามากผิดปกติ ในผู้สูงอายุ ทำให้ขี้หุแก้งเเละเเข็ง อาจทำให้อุดตันได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ ปวดหู
การรักษา
ล้างแล้วใช้เครื่องดูดหรือเครื่องมืออื่นๆช่วย
สิ่งแปลกปลอมในหูชั้นนอก Foreign body
สาเหตุ
อาจมีการยัดสิ่งของเข้ารูหูหรือแมลง เกิดการติดเชื้อ จนแก้วหูทะลุได้
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ รำคาญ สูญเสียการได้ยิน บางรายมีอาการเวียนหัวจนถึงFacial Paralysis
การรักษา
มีชีวิตใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือยาหยดประเภทน้ำมันแล้วคีบออก
ไม่มีชีวต ใช้น้ำสะอาดหรือน้ำเกลือปราศจากเชื้อหยอดเต็หูแล้วเทออก ถ้าเเข็งมากให้แพทย์คีบออก
Tympanic membrane perforate
สาเหตุ
เกิดจากของมีคมที่เกิดจากการเเคะหูหรือเกิดเเรงอัดจาการถูกกระเเทกบริเวณขมับ
อาการและอาการเเสดง
เจ็บปวดเฉียบพลัน
Hearing Loss
Tinnitus
มีเลือดออกในหู
Vertigo
การรักษา
ทิ้งไว้เฉยๆ อย่าชะล้างเอาลิ่มเลือดออก
ไม่ต้องหยอดยาหู เเต่ให้กินยากันติดเชื้อเเทน
อาการควรหายใน 1 เดือน ถ้า 2 เดือนยังไม่หายให้ทำการซ่อมเเซมเยื่อเเก้วหู(Myringoplasty)
หูชั้นกลาง
Otitis Media
ภาวะที่มีของเหลวคั่งข้างอยู่ในหูชั้นใน
Serous Otitis Media มีอาการระหว่าง 3 สัปดาห์ถึง 3 เดือน
Acute Otitis Media มีอาการ < 3 สัปดาห์
Adhesive Otitis Media มีอาการนานเป็นปีๆ
Chronic Otitis Media มีอาการมากกว่าหรือเท่ากับ 3 เดือน
สาเหตุ
เด็กที่เลี้ยงด้วยขวดนม อาจเกิดการไหลย้อนกลับของนมเข้าสู่ท่อยูสเตเชียน
เพดานโหว่
เนื้องอกบริเวณช่องหลังโพรงจมูกไปอุดตันท่อยูสเตเชียน
ท่อยูสเตเชียนอุดตัน
ขณะลงจากเครื่องบิน การปรับเปลี่ยนความดัน
เป็นหวัด คัดจมูก คออักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ
อาการ Acute Otitis Media
เหมือนมีน้ำขังในหู
ทำ Otoscopy พบเยื่อเเก้วหูนูนโ่ป่งและปวดหูร่วมด้วย
สูญเสียการได้ยินบางรายอาจหูอื้อเวลาพูดมีเสียงก้อง
การรักษา Acute Otitis Media
ทำ Valsava Maneuver และ Politzerisation หายใจเข้าเต็มที่ บีบจมูกหุบปากให้สนิทแล้วเบ่งลมหายใจออกเพื่อเพิ่มความดันในหูชั้นกลาง
การรักษาทางยา ให้ยาแก้แพ้ยาลดอาการคัดจมูกและยาปฏิชีวะนะร่วมด้วย
การทำ Myringostomy เจาะเยื่อเเก้วหูแล้วใส่ท่อคาไว้ หลังทำห้ามเเคะหู ห้ามน้ำเข้าหู ถ้ามีของไหลออกมาให้เอาสำสีเช็ด
พยาธิ
มีการอักเสบของหูชั้นกลางและโพรงกกหู(mastoid cavity) เฉียบพลัน
ตรวจพบเยื่อแก้วหูบวมแดง ในหูชั้นกลางอักเสบชนิดมีน้ำขัง
ตรวจพบเยื่อแก้วหูสีเหลืองฟาง มีฟองอากาศหรือน้ำขัง
พบเยื่อเเก้วหูทะลุหรือมี Cholesteatoma
Chronic Otitis Media
สาเหตุ
เกิดจากที่รักษาไม่หายขาดของหุชั้นกลางอักเสบและกลับมาเป็นซ้ำอีก
อาการและอาการแสดง
เยื่อแก้วหุทะลุ
มีของเหลวไหลเป็นน้ำหนอง
หูอื้อ สูญเสียการได้ยิน
การรักษา
ควรทำ Tympanoplasty และอาจต้องทำ Mastoidectomy ร่วมในบางราย ให้ยานาน 2 สัปดาห์
การเกิดภาวะอัมพาตของใบหน้า
ให้ยาปฏิชีวนะ ยาแก้ปวด ยาลดการคัดมูก บางรายให้ยาหยอดหูร่วมด้วย
Otosclerosis
สาเหตุ
ไม่เเน่ชัด อาจเกิด Measle virus
มีกระดูกงอกขนาดเล็กยึดฐานของกระดูกโกลนกับช่อง Oval window
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ เวียนหัวบ้านหมุนขณะเปลี่ยนท่า มีเสียงดังในหู สูญเสียการได้ยินแบบ CHL
การรักษา
ใช้เครื่องช่วยฟัง
ใช้การผ่าตัด แล้วใส่วัสดุเทียมเข้าไป
Otitic barotrama
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงความดันอาการหรือความดันในหูชั้นกลางและโพรงกกหู ส่วนมากเกิดจาการเดินทางโดยเครื่องบิน
อาการและอาการแสดง
ปวดหู แน่นหู หรือสูญเสียการได้ยินแบบCHL
พยาธิ
เมื่อมีความดันแตกต่างกันเยื่อเมือกจะบวม มีการสร้างของเหลวจากต่อมเมือกมีเส้นเลือดฉีกขาด ทำให้เกิดของเหลวหรือเลือดคั่งในหูชั้นกลาง
หูชั้นใน
Benign paroxysmal positional vertigo; BPPV
พบตะกอนแคลเซียมสะสมบริเวณอวัยวะทรงตัวในหูชั้นใน การเคลื่อนไหวจะไปกระตุ้นการเคลื่อนที่ของตะกอนและส่งสัญญาณไปปรัสาทส่วนกลางและเกิดอาการเวียนหัวและตรวจพบ ตากระตุก(Nystagmus)
สาเหตุ
เสื่อมตามวัย อุบัติเหตุ ติดเชื้อ
อาการ
เวียนหัวบ้านหมุน รูส฿กโครงเครง สูญเสียการทรงตัวเมื่อเคลื่อนไหวเร็ว
การรักษา
กายภาพบำบัด
ขยับศรีษะและคอ โดยใช้เเรงดึงดูดของโลก
การผ่าตัด
สำหรับคนที่ไม่ได้ผล และยังมีอาการเวียนหัวตลอด
ยา
ให้ยาบรรเทาอาการเวียนหัว เลี่ยงท่าที่กระตุ้นอาการ
ภาวะแทรกซ้อน
เวียนหัวมาก อาจล้มได้ เมื่อมีอาการควรรีบนั่งหรือนอนบนพื้นราบ หากเกิดขณะทำงานหรือขับรถควรหยุด ไม่ควรดำน้ำ ว่ายน้ำ ปีนปายที่สูง
อาเจียนมาก อาจขาดน้ำและเกลือแร่อาจช็อค
คำแนะนำ
นอนหนุนหมอนสูง เลี่ยงนอนทับหุข้างที่เป็น
ตื่นนอนตอนเช้า ควรลุกช้าๆ
เลี่ยงการก้มเก็บหรือเงยหยิบสิ่งของสูงๆ
เวลาทำอะไรควรทำช้าๆ
Meniere's disease
อาการ
ประสาทหูเสื่อม มีเสียงดังในหู เวียนหัวบ้านหมุน
พยาธิ
เกิดการคั่ง Endolymph จนทำให้ membranous labyrinth แตกออก ทำให้มีการลดลงของ Auditory และ Vestibular neronal outflow ตามมา
การรักษา
การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องขณะเวียนหัว
พยายามอย่ากินหรือดื่มหนัก
เมื่อมีอาการให้หยุดเดินหรือนั่งพัก
ให้ยาบรรเทาอาการและผ่าตัด
เลี่ยงการเดินทางด้วยเรือ
ยินยาขยายหลอดเลือด เพิ่มการไหลเวียนที่หู
ถ้าดีขึ้นควรออกกำลังกายเพิ่มเลือดไปเลี้ยงหู
จำกัดความเค็มเพื่อลดการคั่งของน้ำคั่งในร่างกาย
เลี่ยงชา คาเฟอีน บุหรี่ เครียด
การพยาบาลผู้ป่วย Vetigo
ให้คำแนะนำเรื่องการเคลื่อนไหว ถเาลุกควรช่วยพยุงป้อกันไม่เกิดอุบัติเหตุจากการล้ม
ขณะมีอาการเวียนหัวให้นอนพักนิ่งๆบนเตียง(Absolute bed rest)
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคและการรักษารวมถึงให้กำลังใจ
การประเมินต่างๆและอาจมีการดูแลเรื่องๆอื่นๆขณะผู้ป่วยมีอาการ
จัดสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสมและช่วยให้ผุ้ป่วยพักผ่อนได้มากขึ้น
ให้คำแนะนำการออกกำลังกายเท่าที่ทได้ แต่ห้ามทำงานที่หนักเกินไปและไม่เดินไปที่ๆอันตราย
Idiopathic Sudden Hearing Loss
สาเหตุ
การอุดตันของเลือดที่ไปเลี้ยงหูชั้นใน
การรั่วของน้ำจากหูชั้นในไปสุ่หูชั้นกลาง
การติดเชื้อ
การบาดเจ็บ บริเวณศีรษะ
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ การได้ยินลดลงอย่างฉับพลัน บางรายมีอาการเวียนหู
การรักษา
กรณีทราบสาเหตุรักษาตามสาเหตุ ส่วนใหญ่ไม่สามารถรักษาได้
กรณีทราบสาเหตุ มุ่งเน้นรักษาเพื่อรักษาอาการอักเสบของประสาทหู และเซลล์ประสาทหู นิยมใช้ยาสเตียรอยด์ ประมาณ 1 สัปดาห์หากไม่หายจะพิจารณาให้ฉีดยาเทน
การใช้ยา
ยาวิตามิน
ยาลดอาการเวียนหัว
ยาขยายหลอดเลือด
การนอนพักเพื่อลดการรั่วของน้ำในหูชั้นใน แนะนำนอนหัวสูง 30ํ ํ จากพื้นราบ
Presbycusis or age relate hearing loss
สาเหตุ
อายุเพิ่มขึ้น หรือมีปัจจัยเสริมเช่น การใช้ยา สูบบุหรี่
อาการและอาการแสดง
การได้ยินลดลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปเท่าๆกันทั้งสงข้าง อาจมีเสียงในหูร่วมด้วย
พยาธิ
มีการลดลงของ Sensory cells และ Supporting cells ใน organ of Corti, Spiral ganglion cells มี Atrophy ของ stria vascularis หรือมีการแข็งตัวของ basilar membrane
การรักษา
ใช้เครื่องช่วยฟัง
การจำกัดแคลอรี่
การดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัดหู
นอนราบตะเเคงข้างมี่ไม่ผ่าตัด
ถ้าเวียนหัวให้นอนพัก ระวังอุบัติเหตุขณะเคลื่อนไหว
ประเมิน ปากเบี้ยว ตาปิดไม่สนิท หน้าชา
ห้ามก้มมากๆ
ห้ามออกเเรงยกของหนักมากๆ 2 สัปดาห์
ทานอาหารอ่อนเคี้ยวด้านที่ไม่ได้ผ่า
ตัวกดห้ามเลือดแพทย์จะเอาออกให้หลังผ่า 24-48 hr.
คำแนะนำ
ห้ามสั่งน้ำมุก 2-3 สัปดาห์หลังผ่า
ไอ จาม ควรเปิดปากทุกครั้ง 2-3 สัปดาห์หลังผ่า
ห้ามยกของหนักเกิน 50 kg
หลังผ่า 3-5 สัปดาห์ อาจมีเสียงดังเปรียะหรือซ่าในหู
หลังผ่า 2 สัปดาห์ ดูแลอย่าให้น้ำเข้าหู
จมูก
โรคที่พบบ่อย
เลือดกำเดา(Epistaxis)
สาเหตุ
มีเลือดออกทางจมูก จากการฉีกขาดที่หลอดเลือดที่เยื่อบุจมูก
อาการและอาการเเสดง
เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหน้า (Anterior Epistaxis)
พบมากมนเด็กและวัยหนู่มสาว
เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหลัง (Posterior Epistaxis)
พบในผู้สูงอายุที่มีโรค HT หรือหัวใจและหลอดเลือด ทำให้เลือดออกง่ายหยุดยาก
การรักษา
Posterior Epistaxis
Arterial ligation การผูกหลอดเลือดแดง
Arterial Embolization
Laser Photocoagulation
Skin graft to nasal septum and Lateral nasal wall
Posterior nasal packing โดยการใช้ gauze tampon หรือ balloon หรือ foley's ซึ่งต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
Anterior Epistaxis
การใช้สารเคมีหรือไฟฟ้า จี้จุดที่มีเลือดออก
การใช้ Anterior nasal packing
การพยาบาล
แนะนำให้อ้าปากเวลาไอจาม
ห้ามสั่งน้ำมูกหรือแกะสะเก็ดแผล
ถ้าบวมให้ประคบเย็น และให้ยาแก้ปวดร่วมกับจักท่านอนหัวสูง 45-60 องศา
ประเมินเลือดออกบริเวณผ้ากอซ ห้ามดึงกอซออกเอง
อธิบายให้ทราบว่า อาจมีอาการหูอื้อได้ แต่หายเมื่อนำตัวกดห้ามเลือดออกเอง
อธิบายให้ทราบว่า อาจมีอาการหูอื้อได้แต่จะหายเมื่อนำตัวกดห้ามเลือดออก
ภายหลังเอาตัวกดห้ามเลือดอก ควรนอนพักนิ่งๆก่อน 2-3 hr ห้ามยกของหนักหรือออกกำลังกายหนักๆอย่างน้อย 4-6 สัปดาห์หลังเลือดออก
Nasal polyp
สาเหตุ
มักมีสาเหตุจากหวัดเรื้อรัง
อาการ
มีอาการคันจมูก หายใจไม่สะดวก พูดเสียงขึ้นจมูก เป็นเรื้อรัง
อาจมีอาการปวดที่หัวคิ้วหรือโหนกแก้ม เนื่องจากติ่งเนื้อไปอุดกั้นรูเปิดของไซนัส
สิ่งที่พบ
ใช้ไฟฉายส่องรูจมูก มักพบมีติ่งเนื้อเมือกสีค่อนข้างใสอุดกั้นในจมูก
อาการแทรกซ้อน
แน่นจมูก บางรายมีไซนัสอักเสบ
การรักษา
การกำจัด
Medical Polypectomy เป็นใช้ยาสเตียรอยด์ พ่นจมูก
Surgical Polypectomy
Nasal polyp ใช้ Snaring ใช้รวดคล้องและดึงออกหรือ ESS
Antrochonal poly ทำผ่าตัด Caldwell-luc operation
การรักษาโรคที่เกิดร่วมและป้องกันการเกิดซ้ำ
หาสาเหตุที่ทำให้เกิดริดสีดวงจมูก
แนะนำการทำความสะอาดโพรงจมูกโดยการล้างจมูกด้วยน้ำเกลือเองทุกวัน
การให้ยาเพื่อป้องกันการเกิดซ้ำ ส่วนมากเป็น เพรดนิโซโลน นาน 5-7 วัน โดยให้หลังผ่าตัด 1-2 สัปดาห์ ร่วมกับใช้สเตียรอยด์พ่นจมูกด้วยนาน 3 เดือน
Sinusitis
สาเหตุ
สุขภาพไม่ดี เช่น ภูมิคุ้มกันต่ำ โรคเลือด เบาหวาน
สภาพจมูก เช่น การอักเสบในจมูก เนื้องอกในจมูก แผ่นกั้นช่องจมูกคด
สาเหตุโดยตรง ได้แก่ โรคที่มีอาการนำทางจมูก ฟันผุและการถอนฟัน การสั่งน้ำมูกแรงๆ จามมากๆ อย่างรุนแรง การดำน้ำ
อาการ
คัดจมูก มีอาการกดเจ็บบริเวณโพรงอากาศข้างจมูก
มีของเหลวเป็นหนองไหลออกจากจมูก
การรักษา
ส่วนมากรักษาด้วยยสรับประทาน ไม่นิยมหยอดจมูก โดยจะให้ยาปฏิชีวนะและยาที่รักษาตามอาการ
บางรายได้รับการผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
จัดท่านอนหัวสูง 40-45 องศา
ประคบเย็น
การป้องกันการติดเชื้อ กระตุ้นให้ผู้ป่วยดุแลทำความสะอาดช่องปากด้วยการบ้วนปากด้วยน้ำเกลือปราศจากเชื้อ เลี่ยงการแปรงฟันบรเวณแผล
เลี่ยงการออกกำลังกาย ยกของ ทำงานหนัก ภายใน 10-14 วันเเรกหลังผ่าตัด
ไม่ควรไอจามเเรงๆควรเปิดปากขณะจามหรือไอ
ช่องปากและคอ
โรคที่พบบ่อย
Tonsillitis + Adenoiditis
สาเหตุ
Beta-hemolytic streptococci or Staphylococi
การอักเสบเรื้อรังจากโรคอื่นๆมาก่อน
ต่อมอดีนอยด์อักเสบ มักพบว่าเกิดจากต่อมทอลซิลอักเสบเฉียบพลัน โดยเชื้อที่พบมากคือ Streptococci group A ซึ่งบางทีเรียกว่าโรค AdenoidHypertrophy
อาการและอาการแสดง
ไข้ ไอ เจ็บคอ กลืนลำบาก
รายที่ต่อมอดีนอยด์อักเสบเป็นผลมาจาก
อาการหายใจทางปาก และหายใจเสียงดัง บางครั้งนอนกรน
อาการของช่องหูชั้นกลางอักเสบ(Otitis Media) บางรายอาจมีแก้วหุทะลุ สูญเสียการได้ยินถาวร บางรายมีมาสตอยด์อักเสบ
การพูดเสียงขึ้นจมูก(Hyponasal)
การผ่าตัด
บวมโตจนขัดขวางการหายใจ
มีอาการอื่นๆร่วมด้วย เช่น มีดารอักเสบของหุชั้นกลาง สูญเสียการได้ยิน
กลืนอาหารลำบาก
มีฝีรอบทอลซิลและทำการรักษาจนหายขาดได้ 6 สัปดาห์
มีการกลับเป็นซ้ำของภาวะทอลซินอักเสบประมาณ 4-5 ครั้ง/ปี
รักษาด้วยยาไม่ได้ผล
การพยาบาลหลังผ่าตัด
แนะนำให้ทานของเย็น เช่น ไอศกรีม น้ำเย็น การเคี้ยวหมากฝรั่ง เพื่อลดบวมในลำคอ
เลี่ยงอาหารรสเปรี้ยวเผ็ดหรือร้อนเพราะระคายเคืองคอ
อาจมีการเจ็บคอ คอแข็ง อาเจียนใน 24 hr.แรกรวามถึงมีอาการเจ็บคอ ปวดหู นาน 7-10 วัน
แนะนำให้ลดการใช้เสียงต้งรอแผลหาย 7 วัน
เลี่ยงแหล่งชุมชนช่วง 7 วันแรกหลังผ่าตัดป้องกันเชื้อโรคเข้าร่างกาย
ตา
การตรวจตา ใช้เทคนิคดูและคลำ
คิ้ว
ดูการกระจายตัวของขนคิ้ว ผิวหนังว่าอักเสบหรือไม่ เป้นขุยหรือไม่
ลูกตา
ดูตำเเหน่ง และความชุ่มชื้นของเปลือกตา ดูความนุนของลูกตา
ปกติขณะลืมตา ขอบของเปลือกตาบนจะคลุมรอยต่อของตาดำและตาขาว
การดูภาวะตาโปน (Exopthalmos) รวจโดยการนอนผู้ตรวจจะอยู่เหนือศีรษะ สังเกตอาการว่าตาโปนมากกว่าปกติหรือไม่ ถ้ามีเปลือกตาบนไม่คลุมขอบตาดำ เห็นตาขาวลอยเหนือตาดำ
การคลำเพื่อประเมินความนุ่มโดยใช้ปลายนิ้วชี้เเละนิ้วกลางคลำเหนือเปลือกตาทั้ง 2 ข้าง บ่งบอกถึงภาวะความดันในลูกตา
หนังตา
ดูว่าบวม ช้ำเป็นก้อนเป็นหนองหรือไม่ สังเกตการดึงรั้งของหนังตา เปลือกตาตก ถ้าพบแสดงว่ากล้ามเนื้อลูกตาเสีย
ขนตา
Ectropion
Entropion
รูม่านตาและแก้วตา
ใช้ไฟฉายส่อง สังเกตรูม่านตาว่ากลมหรือไม่ ส่วนแก้งตาจะเป็นสีดำใส หากขุ่นจะเป็นต้อกระจก
โรคที่พบบ่อย
ต้อหิน(Glaucoma)
มีลักษณะอาการร่วม
มีความดันในลูกตา(IOP)
มีขั้วตาผิดปกติ
สูญเสียลานสายตา(visual field)
ค่าความดันปกติอยูที่ 10-20 mmHg
เมื่อเเรงดันเพิ่มขึ้นจะทำให้ประสาทตาถูกทำลายส่งผลให้เกิดการสูญเสียลานสายตาและสมรรถภาพการมองเห็น
สาเหตุ
มีการคั่งของน้ำเอเควียส
ความผิดปกติของ trabecular meshwork ตั้งแต่เกิด
มีความเสื่อมของเนื้อเยื่อภายในลูกตา
การใช้ยาที่มีสารฮอร์โมนพวกคอร์ติโคสเตียรอยด์เป็นเวลานาน
มีต้อกระจกสุกหรือต้อกระจกสุกงอม
เนื้องอกหรืออุบัติเหตุในตา
ชนิด
Primary glacoma
angle-closure glacoma
เมื่อมีการตีบเเคบของ trabecular meshwork ทำให้มีเเรงกดภายในลูกตาบริเวณ optic disc มีการทำลายของประสาทตาอย่างรวดเร็ว ปวดตามาก
open-angle glacoma
เกิดการตีบแคบของท่อ trabecular meshwork ทำให้เเรงดันสูงขึ้นเรื่อยๆเกิดการทำลายประสาทตาขึ้นช้าๆ แทบไม่มีอาการปวดตา สูญเสียลานสายตาทีละน้อย จนกระทั้งเสียการมองเห็น
Secondary glacoma
เกืดจากควาผิดปกติภายในลุกตาหรืออาจเกิดจากโรคทางกายที่ทำให้การไหลของเอเควียสลดลง
Congenital glacoma
ต้อที่เกิดจาก development anormalies โดยชิดการเกิดต้อนั้นอาจเป็นแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
อาการและอาการแสดง
ต้อหินระยะเฉียบพลัน
มีอาการปวดหัวปวดตามาก ตาสุ้แสงไม่ได้ บางราเห็นแสงสีรุ้งรอบๆดวงไฟ
ต้อหินระยะเรื้อรัง
ความดันสูงขึ้นเล็กน้อย อาจไม่รู้สึกอะไรเลยหรือมึนศีรษะตาพร่ามัว ลานสายตาค่อยๆแคบลง
การรักษา
Primary glacoma
ระยะเฉียบพลัน
ต้องรีบลดความดันในลูกตาให้ลงมาสู่ระดับปกติ มักให้ยาหยอดตาและยารับประทานทางปากหรือฉีด เมื่อการเห็นดีขึ้นจึงนัดผ่าตัดตามมา
ระยะเรื้อรัง
ให้ยาหยอดตาและยารับประทาน เพื่อเพิ่มการไหลออกหรือลดการผลิตน้ำเอเควียส ควบคุมความดันลูกตาให้ปกติพร้อมนัดมาตรวจเป็นระยะๆ
การพยาาล
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษา
เตรียมตัวก่อนยิงเลเซอร์ เวลายิงไม่เจ็บหลังยิงอาจมีอาการปวดศีรษะตามัวเล็กน้อย
หากมีอาการ ตาแดง ปวดตามาก ตามัวลง สุ้แสงไม่ได้ ต้องมาตรวจก่อนนัด
สอนการหยอดตาอย่างมีประสิทธิภาพ
แนะนำให้สวมแว่น หลีกเลี่ยงการขยี้ตาหลังทำเลเซอร์
ต้อกระจก (Cataract)
เป็นภาวะแก้วตาขุ่น เกิดจากโปรตีนภายในแก้วตา ทึบแสงทำให้ตาพร่ามัวมองเห็นภาพไม่ชัดเจน
สาเหตุ
เสื่อมตามวัย(Senile cataract)
Immature cataratc
เป็นระยะตาขุ่นไม่มาก เริ่มที่เปลือกหุ้มแก้วตาแต่บรอเวณกลางแก้วตายังใส
ทึบตรงกลางแก้วตาแต่ส่วนรอบๆยังใส ทำให้มองเห้นอยู่บ้าง
mature cataratc
เป็นระยะตาขุ่นทั้งหมดแก้วตาแข็งตวในขนาดที่พอดี เมื่อส่องไฟฉายเฉียงๆจะไม่เห็นเงาม่านตา ระยะนี้เหมาะแก่การผ่าตัดมากที่สุด
hypermatur cataract
เป็นต้อกระจกที่สุกจนขนาดเล้กลงและมีเปลือกหุ้มเลนส์ที่ย่น เลนส์เเข็งมากหากปล่อยไว้อาจตาบอดและผ่าตัดยาก
ความผิดปกติโดยกำเนิด
เกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่น โดนกระทบกระเทือนอย่างเเรงที่ลูกตา
อาการและอาการแสดง
ตามัว ลงช้าๆโดยไม่รุ้สึกเจ็บ
มองเห้นภาพซ้อน เพราะแก้วตาขุ่น
สายตาสั้นลง
แก้วตาขุ่น
การรักษา
การผ่าตัด
Intracapsular cataract extraction; ICCE
การตัดแก้วตาที่ขุ่นพร้อมทั้งเปลือกหุ้มทั้งหมดในเวลาเดียวกัน ต้องใส่เลนส์เข้าไปแทนผู้ป่วยต้องใส่เเว่นหรือคอนเเทคเลนส์
Extracapsular cataract extraction: ECCE
การผ่าตัดเอาแก้วตาที่ขุ่นออกพร้อมทั้งเปลือกหุ้มตาด้านหน้า โดยเหลือเปลือกหุ้มแก้วตาด้านหลัง
Phacoemulsification with Intraocular Lens
เป็นการผ่าตัดโดยคลื่อนเสียงความถี่สูงเข้าสลายแล้วดูดออกแล้วใส่แก้วตาเทียมแทน
ข้อดี แผลเล็ก เกิดสายตาเอียงหลังผ่าตัดน้อย
ข้อเสีย อาศัยความชำนาญ ราคาแพง
การพยาบาล
จัดท่านอนไม่ให้ทับบริเวณที่ผ่าตัด
เลี่ยงการไอจามเเรงๆ การก้มศีรษะต่ำกว่าเอว
การเคลื่อนย้ายต้องระวังกระทบกระเทือน
ทานอาหารอ่อนที่ออกเเรงเคี้ยวน้อยจนกว่าแผลจะหายประมาณ 2 สัปดาห์
ห้ามเบ่งอุจจาระ
ระวังน้ำเข้าตา ค่อยๆแปรงฟันไม่สั่นศีรษะไปมา
เลี่ยงการยกของหนักมากกว่า 5 kg
ไม่ควรใข้สายตานานเกิน 1 hr. กลางคืนปิดฝาครอบตา กลางวันใส่เเว่นสีชาหรือดำ
จอประสาทตาลอก(Retinal detachment)
การแยกหรือลอกตัวของชั้นจอประสาทตาด้านในออกจากชั้นของจอประสาทตาด้านนอก
สาเหตุ
เสื่อมของจอประสาทตาหรือน้ำวุ้นตา
ผ่าทำ intracasulur cataract extraction
ได้รับอุบัติเหตุกระทบกระเทือนที่ตา
ชนิด
Non-rhegmatogenous retinal detachment or exudative retinal detachment
Tractional retinal detachment
Rhegmatogenous retinal detachment
อาการ
เห็นจุดดำหรือเส้นลอยไปมา(Floater) มองเห็นแสงวูบวาบคล้ายฟ้าแลบ(Flashes of light)
การรักษา
Cryocoagulation จี้ด้วยความเย็น รอบๆรุหรือรอยฉีกเพื่อยึดจอประสาทตาเข้าที่
Pneumatic retinopexy ฉีดก๊าซเข้าไปในช่องวุ้นตา เพื่อดันให้จอประสาทตากลับเข้าสุ่ผนังของดวงตา
Scleral buckling ใช้วัสดุหนุนตาขาวเพื่อดันจอประสาทตาให้กลับเข้าที่
Pars plana vitrectomy การผ่าตัดโดยใช้เครื่องมือพิเศษผ่านเข้าไปในบริเวณตาขาวตรงตำแหน่งที่เรียกว่า pars plana เพื่อตัดเอาวุ้นตาและเนื้อเยื่อพังผืดที่ดึงรั้งจอประสาทตาออก
การพยาบาล
ก่อนผ่า
เลี่ยงการขยี้ตา ส่ายหน้าและศีรษะเเรง
ห้ามก้มหน้า
ดูแลให้ผู้ป่วย Absolute bed rest
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค การรักษา การผ่าตัด
หลังผ่า
ดูแลให้ได้รับการวัดความดันลุกตาหลังผ่า 4-6 hr
ประเมินอาการของภาวะความดันตาสุง
ดูแลให้นอนคว่ำหน้าหรือนั่งคว่ำหน้า ให้ได้อย่างน้อย วันละ 16 hr เพื่อใหห้แก็สไปกดบริเวณจอประสาทตา
ถ้าผู้ป่วยท้อแท้ควรให้การสนันสนุนและให้กำลังใจ
ดูแลให้ทานอาหารอ่อนเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือน
ประเมินอาการท้องผูก
กลับบ้าน
ควรทำความใบหน้าโดยใช้ผ้าขนหนุชุบน้ำบิดหมาดๆเช็ดหน้าเบาๆเฉพาะข้างที่ไม่ได้ผ่า
หลังผ่า 2 เดือนแรก เลี่ยงการออกกำลังกายที่หักโหม ไม่ควรยกของหนักหรือทำงานที่อาจกระทบกระเทือนดวงตา
Eye injury
Chemical injury
ชนิด
กรด
พบอาการ
ปวดแสบปวดร้อนระคสยเคืองมาก การมองเห็นอาจลดลงหากเข้าตามาก
สายตาสู้แสงไม่ได้ พยายามหลับตาตลอดเวลา(blepharospasm)
ด่าง
การรักษา
ล้างตาให้เร็วที่สุดด้วยน้ำสะอาดปริมาณอาจมากกว่า 5 l
เมื่อมาถึงโรงพยบาลอาจได้รับการถ่างเปลือกตาแล้วหยอดยาชาก่อนเพื่อทำการล้างตา
หากเกิด Corneal abrasion อาจได้รับการป้าย terramycin ointment และ pressure patch 24 hr. และนัดซ้ำ
การใช้ยาจะขึ้นอยู่กับควารุนเเรงที่เกิดขึ้น อาจให้ยาลดการอักเสบ ยากันการติดเชื้อ ยาช่วยในการหายของแผลเปิดที่กระจกตา ยาลดความดันตา
การผ่าตัด การขูดเซลล์ที่ตายเเล้วและปลูกถ่ายเยื่อหุ้มรกเพื่อปิดแผล หรือลดการเกิดแผลที่เยื่อบุตา แพทย์จะพิจารณาเป็นรายๆไป
ล้างตาให้ผู้ป่วยโดยเร็วที่สุด โดยใช้ NSS หรือ Sterile water โดยใช้เวลาอย่างน้อย 30 min
ดูแลบรรเทาหากมีอาการปวดตามากและดูแลให้ได้ตามแผนการรักษา
Hyphema
เกิดจากการได้รับบาดเจ็บจากวัตถุมีคมบริเวณตา ทำให้มีเลือดออกตรง Anterior chamber แบ่งระดับได้ดังนี้
G2 เลือดออกเล็ก 1/3 ถึง 1/2 ของช่องหน้าม่านตา
G3 เลือดออกเล็ก 1/2 ถึงเกือบเต็มช่องหน้าม่านตา
G1 เลือดออกเล็กน้อยกว่า 1/3 ของช่องหน้าม่านตา
G4 เลือดออกเต็มช่องหน้าม่านตา
สามารถใช้ Slit lamp ตรวจ
ภาวะเเทรกซ้อน
Increase intraocular pressure
Blood stain cornea
Rebleeding
การรักษา
Absolute bed rest 30-40 องศา ป้องกัน blood stain
ปิดตาทั้ง 2 ข้าง ลดการเกิด rebleeding
อาจได้ยาสเตียรอยด์ หยอดป้องกันการเกิด rebleeding
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด paracetamal และ diazepam เพื่อให้ได้พักผ่อน
ประเมินอาการปวดแต่หากเลือดไม่ถูกดูดซึมไปในเวลาอันควรหรือมีอาการ blood stain cornea หรือต้อหินชนิดเเรกเกิดขึ้น ต้องรีบผ่าตัด paracentesis
เมื่อครบ 5-7 วันสามารถกลับบ้านได้
การพยาบาล
Absolute bed rest นอนนิ่งๆ 3-5 วัน
ปิดตาทั้ง 2 ข้างที่มีเลือดออกด้วยผ้าปิดตา (eye ped) และที่ครอบตา(eye shield) ไขหัวเตียงสูง 30-45 องศา
เช็ดตาให้ผู้ป่วยทุกวันในตอนเช้าพร้อมทั้งประเมินภาวะเลือดออกเพิ่มหรือไม่จากการส่องด้วยไฟฉาย
ถ้าปวดตาต้องประเมินอาการหลังทานยาแก้ปวด 30 min ถ้าไม่หายและยังมีอาการอื่นๆด้วยให้รีบรายงานแพทย์
Diabetic Retinopathy
ปัจจัย
การมีความผิดปกติที่ไตจากเบาหวาน
HT
การควบคุมน้ำตาล
โรคไขมันในเลือดสูง
ความยาวนานของโรคเบาหวาน
การตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
Non-Proliferation diabetic retinopathy; NPDR
Proliferation diabetic retinopathy; PDR
การพยาบาล
แนะนำให้ควบคุมระดับน้ำตาล เพื่อลดความผิดปกติของจอประสาทตา
ดุแลให้ได้รับการตรวจตาอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง
ออกกำลังกาย ทานยาหรือฉีดยาควบคุมระดับน้ำตาลอย่างสม่ำเสมอ
การรักษา
Panretinal photocoagulation; PRP
ทำในกรณีที่จุดรับภาพบางส่วนกลางบวมและในผู้มี่มีเส้นเลือดผิดปกติงอกใหม่ เป็นการยิงเลเซอร์ทั่วจอประสาทตา เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยมีรอยโรคทางประสาทจอตาเพิ่มมากขึ้น
Intravitreal pharmacologic injection
ได้แก่ ยากลุ่ม steroid และยา กลุ่ม Anti VEGF เพื่อรักษาโรคจุดกลางรับภาพจอประสาทตาบวมจากเบาหวาน
ข้อดี ในรายที่ตอบสนองต่อยาได้ดี การมองเห็นจะกลับคืนมาได้เกือบเท่าหรือเท่าปรกติ
ข้อจำกัด ยามีฤทธิ์อยู่ได้ชั่วคราวเฉลี่ย 3-4 เดือน และต้องท าการฉีดด้วยเทคนิคปลอดเชื้อในห้องผ่าตัดรวมทั้งอาจมีผลข้างเคียงของยา หรือภาวะแทรกซ้อน
Vitrectomy
กรณีที่โรครุนแรงจะต้องให้การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดน้ าวุ้นตา จอประสาทตาเพื่อพยายามยับยั้งโรคและป้องกันไม่ผู้ป่วยสูญเสียการมองเห็นอย่างถาวร
Corneal ulcer
สาเหตุ
อุบัติเหตุ (trauma)
กระจกตามีภูมิต้านทานต่อเชื้อโรคต่ำ
มีความผิดปกติของกระจกตา
โรคทางกายที่ท าให้ภูมิคุ้มกันทั้งร่างกายบกพร่องลง
ความผิดปกติบริเวณหนังตา
การใส่เลนส์สัมผัส (Contact lens)
ตาปิดไม่สนิทขณะหลับ (Lagophthalmos)
อาการและอาการแสดง
ปวดตา (pain)
เคืองตา (foreign body sensation)
กลัวแสง (photophobia)
น้ าตาไหล (lacrimation)
ตาแดงแบบใกล้ตาดำ (ciliary injection)
ตาพร่ามัว (blur vision)
กระจกตาขุ่น (hazy cornea)
อาจพบหนองในช่องหน้าม่านตา
การรักษา
หาเชื้อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ โดยการขูดเนื้อเยื้อไปย้อมและscrape lesion
กำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดแผลบริเวณกระจกตาที่เป็นสาเหตุอื่น
ส่งเสริมให้เกิดการแข็งแรงของร่างกาย
บรรเทาอาการปวดโดยให้รับประทานยาแก้ปวด paracetamol หรือหาปวดมากอาจให้ยาบรรเทาปวดกลุ่ม NSAID
การพยาบาล
แยกเตียง ของใช้ และยาหยอดตาของผู้ป่วยใช้เป็นส่วนตัว เพื่อ
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู้ผู้อื่น
เช็ดตาวันละ 1-2 ครั้ง โดยครอบเฉพาะพลาสติกครอบตา (Eye
shield) ไม่ต้องปิดผ้าปิดตา (Eye pad)
หยอดตาตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ช่วงแรกอาจต้องหยอดทุก 30 นาท
ห้ามขยี้ตา ห้ามน้ำเข้าตา นอนตะเเคงข้างที่มีพยาธิเพื่อกันการติเชื้อ
พักผ่อนและทานอาหารให้เพียงพอ
ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยสม่ าเสมอ เพื่อป้องกันภาวะพรากความรู้สึก
(sensory deprivation) ในผู้ป่วยที่เหลือตาข้างเดียว
นาสาวแพวรุ่ง คำผอง รหัส 62111301065 เลขที่ 63