Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดเกี่ยวกับงานอนามัยสิ่งแวดล้อม, image - Coggle Diagram
แนวคิดเกี่ยวกับงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
ความหมาย
สิ่งแวดล้อม = สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ซึ่งมีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมซึ่งจับต้องได้มองเห็นได้
อนามัยสิ่งแวดล้อม = ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพอนามัยของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวมนุษย์
สุขภาพ = ความสุขปราศจากโรค ความสบาย
บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม = บริการที่ปฏิบัติตามนโยบายด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงพารามิเตอร์ด้านสิ่งแลดล้อม กระตุ้นการใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
ขอบเขต
การอาชีวอนามัย
การจัดการสิ่งแวดล้อมของที่พักอาศัย
การป้องกันอันตรายจากรังสี
การวางผังเมือง
การควบคุมมลพิษทางอากาศ
การคมนาคม
การสุขาภิบาลอาหาร
การป้องกันอุบัติภัยต่างๆ
การควบคุมมลพิษทางดิน
การสุขภิบาลสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค
สุขาภิบาลเมื่อเกิดโรคระบาด เหตุฉุกเฉิน ภัยพิบัติและการอพยพย้ายถิ่น
การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
มาตรการป้องกันเพื่อให้สิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปปราศจากความเสี่ยงหรืออันตราย
การควบคุมมลพิษทางน้ำ
จัดหาน้ำสะอาด
เพิ่มเติม
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เหตุรำคาญ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
สารเคมีและสารอันตราย
มลพิษข้ามแดน
ความสำคัญ
การรักษาคุณภาพของสิ่งแวดล้อม
การป้องกันมิให้มีเชื้อโรคหรือสารเคมีที่เป็นพิษ
แก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
สาเหตุที่ทำให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม
การขยายตัวของเมือง
สภาพการใช้ดินไม่เหมาะสม
ปัญหาประชากร
การพัฒนาและการใช้เทคโนโลยีไม่เหมาะสม
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สิ่งที่ทำให้เกิดโรคและสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์
สมดุล = ไม่มีโรคเกิดขึ้น
ไม่สมดุล = มีโรคเกิดขึ้น
องค์ประกอบ
สิ่งที่ทำให้เกิดโรค(Agent)
โรคทางเคมี
โรคทางจิตใจและสังคม
โรคทางชีวภาพ
โรคเนื่องจากขาดสารอาหารนั้น
มนุษย์(Host)
อายุและเพศ
พันธุกรรมและเชื้อชาติ
ปัจจัยทางสรีรวิทยา
ปัจจัยทางด้านจิตใจ
การที่มีภูมิคุ้มกันของโรคมาก่อน
การได้รับการรักษาโรคมาก่อน
พฤติกรรมอนามัย
สิ่งแวดล้อม(Environmental)
chemical environment
biological environment
physical environment
socio-economic environment
ผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อม
อุณหภูมิอุ่นและมีผลต่อการตกของฝน
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้สมองอักเสบ
โรคมลาเรีย
โรคที่เกิดจากสัตว์
ภาวะน้ำหลากเฉียบพลัน
การปนเปื้อนในน้ำและอาหาร
อหิวาตักโรค
อากาศอุ่น คลื่นความร้อนและมวลอากาศที่ลอยนิ่ง
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคลมแดด
ภาวะแแห้งแล้ง
ขาดสารอาหาร
การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รุนแรง
โครงสร้างเกี่ยวกับสาธารณสุขเสียหาย
ส่งผลต่อสุขภาพจิต
เสียชีวิต บาดเจ็บ พิการ
ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูง
กระทบต่อสุขภาพจิต
การอพยพย้ายถิ่น
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การป้องกันและลดความเสี่ยงจากปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม
การสร้างเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
การพัฒนาระบบบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
การส่งเสริมบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี
กฎหมายอื่น ๆ เช่น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2550
พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2535
แผนบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อม
มาตรการ
เสริมอำนาจภาคประชาชน
พัฒนาระบบการจัดการของสถานบริการสังกัดกระทรวงสาธารณะสุข
พัฒนาระบบเตือนภัย
สร้างกลไกที่เชื่อมโยงทุกระดับ
พัฒนาระบบการจัดการขององค์กรส่วนท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย
ผลลัพธ์
ประชาชนมีความรู้ ตระหนัก และมีส่วนร่วม
กลไกเชื่อมโยงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ
รพ.สธ.จัดบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินตามกฎหมาย
กลไกและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ
คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการสารเคมี
คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
คณะกรรมการอนามัยสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมการควบคุมมลพิษ
คณะกรรมการส้วมสาธารณะไทย
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
คณะกรรมการสาธารณสุข
คณะกรรมการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ