Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท1 มโนทัศน์ค.ผิดปกติทางสุขภาพและจิตเวช - Coggle Diagram
บท1 มโนทัศน์ค.ผิดปกติทางสุขภาพและจิตเวช
1. แนวคิดการเกิดโรคจิตเวช
1.1 Stress diathesis model
ยีนส์หรือการรวมกันทางพันธุกรรมที่ส่งผลให้เกิดจุดอ่อนหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคได้ โดยแต่ละคนจะมีความแตกต่างกัน
1.2 Case formulation
ปัจจัย 4 ประการ (4 P's)
Predisposing factor
(ปัจจัยเสี่ยง)
สิ่งที่แฝงอยู่ในตัวบุคคลที่นำไปสู่การเกิดความผิดปกติทางโรคจิตเวช
เช่น พันธุกรรม โภชนาการ การเลี้ยงดู
Precipitating factors
(ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ)
สิ่งภายนอกที่ทำให้บุคคลเริ่มปรากฏค.ผิดปกติของโรคทางจิตเวชขึ้น
เช่น ใช้สารเสพติด, การนอนหลับเปลี่ยนแปลง, สอบตก, สัมพันธภาพล้มเหลว
Perpetuating factors
(ปัจจัยที่ทำให้อาการคงอยู่)
สิ่งที่ทำให้อาการความผิดปกติของโรคทาจิตเวชที่เกิดขึ้นยังไม่หายไป
หรือไม่ดีขึ้นเท่าที่ควร เช่น ไม่ได้รับการรักษา, ไม่รับประทานยาต่อเนื่อง, รู้สึกผิดในเรื่องที่ตนเองทำผิด,การไม่ยอมรับความเจ็บป่วย, ขาดแหล่งช่วยเหลือทางสังคม, พฤติกรรมการใช้ยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง
Protective factors
(ปัจจัยปกป้อง)
ช่วยให้บุคคลปรับตัวต่อสถานการณ์ต่ออาการความผิดปกติของ
โรคทางจิตเวชที่มีไม่ให้รุนแรงหรือช่วยให้ความผิดปกตินั้นหายคืนสู่สภาพปกติ เช่น มีงานทำ, ครอบครัวมีสัมพันธภาพที่ดีห่วงใยดูแลซึ่งกันและกัน, การมีความสามารถในการแก้ไขปัญหา,
2. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่ทำให้
เกิดโรคทางจิตเวช
1. Biological factors
ค.ผิดปกติของสารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
ค.ผิดปกติของโครงสร้างและการทำงานของสมอง
พันธุกรรม (genetics)
ค.ผิดปกติที่มีมาแต่กำเนิด (congenital abnormal)
ค.ผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย (hormonal factor)
การสะสมของสารพิษภายในร่างกาย (toxic substance alcoholism)
ค.เจ็บป่วยหรือโรคทางสมอง
2. Psychological factors
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
: สาเหตุมาจากการทำงานของโครงสร้างบุคลิกภาพที่ไม่สมดุลกัน หาก Ego มีพลังเข้มแข็งพอก็จะช่วยทำให้บุคคลสามารถเผชิญปัญหาชีวิตได้อย่างสมเหตุผล แต่หาก Ego สูญเสียหน้าที่ในการจัดการ ไม่สามารถทำงานประสมประสานระหว่าง Id กับ Superego ได้อย่างสมดุล
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (humanistic theories)
: มีสาเหตุมาจากความไม่รู้ ไม่เข้าใจปัญหาที่แท้จริงของตนเอง ขาดความตระหนักรู้ หรือยอมรับตนเองและสิ่งแวดล้อมตามความเป็นจริง
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
:
มีสาเหตุมาจาก ประสบการณ์ของมนุษย์ที่ผ่านการเรียนรู้การตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสภาวะสิ่งแวดล้อม มีสาเหตุมาจาก ประสบการณ์ของมนุษย์ที่ผ่านการเรียนรู้การตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสภาวะสิ่งแวดล้อมจนกลายเป็นความเคยชินหรือเป็นนิสัย
ทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม
: มีสาเหตุมาจากความคิด ความเชื่อที่ผิดปกติหรือไม่สมเหตุสมผลของมนุษ์ทำให้มนุษย์มีข้อจำกัดและบีบคั้นตนเอง ตัดสินพฤติกรรมในภาพรวม ไม่คำนึงถึงขัอมูลที่เป็นจริง
3. Social factors
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ลักษณะการอบรมเลี้ยงดู
การอบรมเลี้ยงดูแบบเผด็จการ (authoritarian)
การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย (rejection)
การอบรมเลี้ยงดูแบบทนุถนอมมากเกินไป (overprotection)
การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย (democracy)
4. Spiritual factors
ปรัชญาชีวิต
(Philosophy of Life)
สิ่งที่สำคัญในชีวิต สะท้อนออกมาให้เห็นได้ในพฤติกรรมบางอย่างของมนุษย์
สิ่งที่นับถือหรือที่พึ่งทางใจ (concept of deity)
เครื่องมือช่วยนำไปสู่การพัฒนาระดับของจิตใจ ทำให้บุคคลมีสิ่งยึดเหนี่ยวและนำทางชีวิตไปในหนทางที่สงบสุข
3. อาการวิทยาและเกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวช
อาการแสดง (signs)
อาการ (symptoms)
กลุ่มอาการ (syndrome)
โรคทางจิตเวช (psychiatric disorder หรือ mental disorder)
กลุ่มของอาการและอาการแสดงทางจิตเวช
จัดได้เป็น 7 กลุ่ม
ความผิดปกติของความรู้สึกตัว
( disturbance of consciousness)
ชนิดที่ 1 ความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว
(disturbance of level of consciousness)
มักเกิดจากสมองมีพยาธิสภาพ
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของการคงความใส่ใจ (disturbance of attention)
ความพยายามในการรวมความสนใจไปที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของประสบการณ์ ณ เวลานั้น ๆ
ชนิดที่ 3 ความผิดปกติของการถูกชักจูง
(disturbanceof suggestibility)
การยินยอมปฏิบัติตามความคิด ความเชื่อ ทัศนคติอย่างใดอย่างหนึ่ง
ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว (disturbanceof motor behavior)
ความผิดปกติของการพูด
(disturbance of speech)
ความผิดปกติของอารมณ์
(disturbance of emotion)
ความผิดปกติของอารมณ์ที่แสดงออก
(disturbance of affect)
ความผิดปกติของอารมณ์
(disturbance of mood)
ความผิดปกติของความคิด
(disturbance of thinking)
ชนิดที่ 1 ความผิดปกติโดยรวมของความคิด
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของกระบวนการคิด
ชนิดที่ 3 ความผิดปกติของเนื้อหาความคิด
ความผิดปกติของการรับรู้สัมผัส
(disturbance of perception)
ชนิดที่1 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทหลอน
ชนิดที่ 2 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทลวง
ชนิดที่ 3 การรับรู้ผิดปกติที่เป็นปรากฎการณ์
conversion และ dissociation
ชนิดที่ 4 ความผิดปกติของการรับรู้ที่เกิดความผิดปกติ
ของพุทธิปัญญา(cognition)
ความผิดปกติของความจำ
(disturbanceof memory)
1) amnesia สูญเสียความจำ
2) paramnesia คือ ความจำเป็นเท็จ
4. เกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวช
International Classification of Disease and Related Health Problem 10th Revision
(ICD 10)
ปี 1992 พัฒนาขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก
เป็นการจัดระบบจำแนกโดย
อาศัยสาเหตุของโรคและการดำเนินโรค
Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder 5 th edition (DSM V)
โดยสมาคมจิตแพทย์อเมริกันปีคริสต์ศักราช 1994
รจำแนกโรคโดยอาศัยอาการและอาการแสดงเป็นหลัก
แบ่งออกเป็น 5 แกน 3 แกนแรกเป็นการวินิจฉัยโรคที่เป็นทางการ ส่วน 2 แกนหลังเป็นข้อมูลส่วนที่
เพิ่มเติมใช้ในการรักษาและพยากรณ์โรค
Axis I: clinical syndromes
ข้อวินิจฉัยโรคและอาการทางจิต
Axis II: developmental disorders and personality disorders ความผิดปกติด้านพัฒนาการและความบกพร่องทางปัญญา
Axis III: physical conditions
ภาวะความเจ็บป่วยทางกายของผู้ป่วยในขณะนั้น
Axis IV: severity of psychosocial stressors
ปัญหาจากจิตสังคม
Axis V: Highest Level of Functioning
เป็นการประเมินประสิทธิภาพของการปรับตัวของผู้ป่วย
5. สิทธิของผู้ป่วย กฎหมาย จริยธรรมในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
วัตถุประสงค์ของ พระราชบัญญัติ
สุขภาพจิต พ.ศ. 2551
1) เพื่อปกป้องคุ้มครอง ส่งเสริมและปรับปรุง
คุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตของประชาชน
2) เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยธรรมชน
ของผู้ที่มีความผิดปาติทางจิต
3) เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายที่
อาจเกิดขึ้นจากผู้ป่วยจิตเวช
6. ขั้นตอนและแนวทางการดำเนินงาน
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
เจอ
: เมื่อพบบุคคลที่มีความผิดปกติ
ทางจิตตามมาตรา 22
แจ้ง
: แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่จเพื่อนำส่งสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบำบัดรักษาที่อยู่
ใกล้ชิดโดยไม่ชักช้า
ตรวจ
: สถานพยาบาลของรัฐ
หรือสถานบำบัดรักษา
ส่ง
: ส่งรักษาในสถานบำบัด (โรงพยาบาลจิตเวช)