Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Vascularหลอดเลือด - Coggle Diagram
Vascularหลอดเลือด
ความดันโลหิตสูงHํัypertension
Stroke volume
SV คือ ปริมาตรเลือดที่หัวใจบีบออกแต่ละครั้ง )เป็นปริมาตรของเลือดที่ถูกบีบ
ออกจากหัวใจห้องล่างในการบีบของหัวใจหนึ่งครั้ง
Systolic Blood Pressure (SBP) ค่าความดันตัวบนบอกถถึงความดันสูงสุดขณะหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัว
Diastolic Blood Pressure (DBP)ค่าความดันตัวล่าง
บอกถึงความดันต่ำสุดเมื่อหัวใจคลายตัว มันจะบ่งบอกถึง
แรงดันในระบบขณะไม่มีแรงบีบโดยทั่วไปคือแรงต้านทานของหลอดเลือดโดยรวมในระบบ
Mean Arterial Pressure (MAP) เป็นค่าที่บอกถึงแรงดันเลือดที่จะส่งเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่ำง ๆ (perfusion pressure)
Pulse Pressure คือ Systolic BP - Diastolic BPแสดงให้เห็นถึงเลือดที่ออกจำกหัวใจ และควำมแข็งของหลอด
การจัดกลุ่มตามสาเหตุ แยกเป็น 2 กลุ่ม คือ
Secondary hypertension เกิดจากสาเหตุบางอย่างที่
สามารถอธิบายได้ เช่นความผิดปกติของ ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบประสาท โรคของเนื้อไต หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไต ปฎิกิริยาของยาการตังครรภ์
Essential Hypertensionเป็นกลุ่มที่ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่พบว่ามีความสัมพันธ์กับภาวะบางอย่าง
ปริมาณ Na ที่มีมาก ได้จากการกิน
การดื่มสุรามาก
อ้วน และน้ำหนักเกินผนังหลอดเลือดหนาตัว
insulinในเลือดสูงมากเกินไป หรือภาวะดื้อinsulin
ประวัติครอบครัว มี geneองค์ประกอบด้าน
พันธุกรรม
ที่เกี่ยวข้อง RAA system
ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้
ประวัติครอบครัวของความดันโลหิตสูง
อายุมากกว่า 65 ป
โรคที่มีอยู่ร่วมกัน เช่น โรคเบาหวาน
โรคไต
ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนได้
อาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและไขมันทรานส์สูง การไม่บริโภคผักและผลไม้
การไม่มีการใช้งานทางกายภาพ
การบริโภคยาสูบ
อ้วน
การบริโภคเกลือมากเกินไป
การบริโภคแอลกอฮอล์
ระบบไหลเวียนโลหิตดำ (vein
system)
หลอดเลือดดำของแขนขา(superficial vein) ( deep vein)(perforating veins)
โรคที่พบบ่อยที่สุด
Varicose veinกำรบิดเกลียวของหลอดเลือดดำมีขนาด
ใหญ่กว่าปกติ เกิดกับ superficial vein
Thrombophlebitis กำรมีลิ่มเลือดจับตัวกันไปอุดกั้นเรียกว่า superficial thrombophlebitis
ปัจจัยเสี่ยง อายุมากขึ้น ผู้หญิงเป็นมากกว่าประวัติครอบครัว ความอ้วน
การวินิจฉัย
ซักประวัติเกี่ยว โรคหลอดเลือด อาการปวดขา
กำรตรวจด้วย ultrasound เพื่อดูกำรทำงานของ Valveในหลอดเลือดดำ และดูลิ่มเลือด
การรักษา
Sclerotherapyการฉีดยาเข้าเส้นเลือดขอดที่เป็นเส้นเลือดฝอยโดยตรง
เลเซอร์ (Endovenous Laser Ablation)
Vein strippingเป็นการผ่าตัด
การป้องกัน
ออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนัก รับประทานอาหารที่มีเส้นใยสูงปรับเปลี่ยนการ ยืน เดิน นั่ง ไม่อยู่ในท่าเดิมนาน
Deep VeinThrombosis
ภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดดำส่วนลึกขา
สาเหตุ
หลอดเลือดได้รับบาดเจ็บ การไม่เคลื่อนไหวเป็นเวลานาน
ภาวะแทรกซ้อน
•Pulmonary embolism.
การวินิจฉัย
ซักประวัติเกี่ยวกับความผิดปกติของหลอดเลือด
Ultrasound , CT , MRI หลอดเลือด
3.Blood test. กำรแข็งตัวของเลือด
การรักษา
-superficial thrombophlebiti -ให้ความอบอุ่นเพื่อลดอาการปวด -ยกขาสูง -ให้ยาบรรเทา -สวมถุงน่อง
การป้องกัน
ในการเดินทางที่ยาวนานน ควรหยุดพักทุก
1 ชั่งโมง
เคลื่อนไหวขา ข้อ บริหารข้อเท้า
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
การพยาบาลเพื่อเพิ่มการไหลเวียน
• bed rest ,ให้แขนหรือขาอยู่ในท่าที่เหมาะสมการยกบริเวณที่เป็นให้สูงขึ้นเพื่อลดบวมและให้เลือดไหลกลับสะดวก,ดูแลให้อบอุ่น เพื่อให้หลอดเลือดขยายตัว
PAD
Peripheral artery disease
เป็นการอุดกั้นในหลอดเลือดแดงส่วนปลายหรอหลอด
เลือดตีบแคบลง ที่มีสาเหตุจากหลอดเลือดแดงแข็ง
atherosclerosis มีความหนาแข็ง ไม่ยืดหยุ่น มีการ
สร้างคราบไขมัน ในผนังหลอดเลือดแดง
โรคของหลอดเลือดแดง
ที่พบบ่อย
Acute arterial occlusion
สาเหตุ
• Arterial trauma
• polycythemia
• Intimal dissection
• Arterial thrombosis
• Embolus
อาการสำคัญ
pain
pallor
pulselessness
paresthesia
paralysis
polar
การอุดตัน แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม
Inflow ได้แก่หลอดเลือดแดงบริเวณปลาย aortaในช่องท้อง ช่องอุงเชองกรานมักไม่ทำให้เกิดเนื้อตายอาการปวดจะปวดที่หลัง บั้นเอว
Outflow ได้แก่ หลอดเลือดตั้งแต่ขาหนีบลงมา
อาการและพยาธิสภาพ
ระยะแรกจะขัดขวางการไหลเวียนของ
หลอดเลือดแดงทำให้ขาดเลือดไปเลี้ยงส่วนล่างบริเวณอุดตันทำให้เกิดเนื้อตาย ดำ คล้ำหลุดออก
การสัมผัสการไหลกลับของเลือดเลือด(capillary refill)-การไหลกลับของเลือดดตามปกติควรจะไหล
กลับมาภายในเวลาไม่เกิน 3 วินาทีภายหลังจากบีบนิ้วส่วนปลายให้ตรวจสอบทั้ง 2 ข้าง
ถ้าผิดปกติมักมีปัญหากับหลอดเลือดแดง
chronic arterial occlusion
การแบ่งระยะของโรคหลอดเลือดชนิดเรื้อรัง
• ระยะที่ 1 ไม่มีอาการ
ระยะที่ 2 เริ่มมีอาการมักเจ็บกล้ามเนื้อ
ระยะที่ 3 เจ็บขณะพัก ปวดชา ปวดแสบ
ระยะที่ 4 ระยะเนื้อตายย (necrosis / gangrene)
Diagnosis
1.การตรวจทางรังสี(angiography)
เป็นการตรวจหลอดเลือดบริเวณขาหนีบ หรือแขน
หลอดเลือดด า(venography,phebography)
การดูแลผู้ป่วยหลังตรวจ
นอนราบบนเตียง ห้ามงอแขนหรือขาข้างที่ทำ12-24 ชม
บันทึกสัณญาณชีพเปรียบเทียบชีพจร
สังเกตhematoma
ให้ความอบอุ่นแก่อวัยวะส่วนปลาย
การตรวจร่างกาย
ผิวหนัง ซีดสีแดงคล้ำ,แห้งแตก
,ไม่มีขน,เล็บเหลืองแห้งหนาแตกเป็นขุย,ปลายนิ้ว
แห้งดำ
อุณหภูม
เย็น
ภาวะแทรกซ้อน
• Critical limb ischemiaขาและนิ้วเท้าขาดเลือดมาเลี้ยง เกิดแผลอาจมีการติดเชื้ิอ(gangrene) และอาจถึงต้องตัด
ขา หรือนิ้วที่เป็นแผลออก
การป้องกัน
ไม่สูบบุหรี่ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดหากเป็นเบาหวานออกกำลังกายควบคุมระดับไขมันในเลือดกินอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวต่ำ ควบคุมน้ำหนักตัว
การรักษา
จัดการกับอาการปวด หยุดการลุกลามของหลอดเลือดแข็งตัว
การใช้ยา
เป็นการใช้ยาโรคที่เป็นอยู่และป้องกันการเกิดลิ่มเลือดให้ยา heparin
Angioplasty and
surgery
Angioplastyเป้นการใส่สายสวนหลอดเลือดและบอลลูนหลอดเลือด
Graft Bypass surgery เป็นการนำหลอดเลือดบริเวณอื่นมาเชื่อมต่อให้เกิดหลอดเลือดใหม่
Thrombolytic therapy. เป็นการฉีดยาเพื่อทำลายลิ่มเลือด
การพยาบาลเพื่อเพิ่มการไหลเวียน
• bed rest
ป้องกันและรักษาไม่ให้มีการอุดตันของหลอดเลือด
แก้ไขอาการเจ็บปวดจากการขาดเลือด
ฟื้นฟูสภาพร่างกาย สภาพจิตใจ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เนื้อเยื่อส่วนปลายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากมีการขัดขวางการไหลเวียนของหลอดเลือด
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดบวม บริเวณอวัยวะส่วนปลาย