Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Power Plant and Substation, นายกรกฎ พรมคำน้อย 61010310107 Sec.1 - Coggle…
Power Plant and Substation
สถานีไฟฟ้า
การเลือกตั้งสถานี
ความสวยงามและทัศนียภาพ
การทำงานของผู้ควบคุม
เสียง
มลพิษ
ควรเลือกสถานที่ตั้งให้อยู่ใกล้กับ load center
การออกแบบ layout ของอุปกรณ์ในสถานี
Single bus arrangemen
Main and transfer bus
Douuble bus arrangement/ duplicated bus
double bus-single breaker
double bus with transfer bus
double bus-double breaker
การออกแบบ insulation ในแง่ coordination และ pollution
การป้องกันอุปกรณ์จากแรงดันที่สูงเกิน
การออกแบบเพื่อทนต่อ pollution
การเลือกอุปกรณ์และโครงเหล็กให้สามารถทนแรงทางกลที่เกิดขึ้นขณะเกิดลัดวงจร
ระยะห่างที่ปลอดภัย
ระบบดิน
แหล่งจ่ายไฟฟ้าในสถานี
เป็นแหล่งจ่ายไฟ dc การคำนวณขนาดขึ้นอยู่กับ
ขึ้นอยู่กับอายุการใช้งานของ battery
ระดับแรงดันต่ำสุดในเวลาที่สิ้นสุด discharge hour เพื่อให้ breaker สามารถทำงานได้
continuous
สถานีไฟฟ้าแรงสูง
ทำไมต้องโรยหินในสถานีไฟฟ้าแรงสูง
เพื่อรักษาความชื้นในดิน ทำให้ดินมีค่าความต้านทาน ไม่เกินค่าที่กำหนดและยังเป็นการเพิ่ม ความตานทาน ระหว่างคนกับดิน
การเลือกขนาดสายไฟฟ้าเพื่อใช้ในระบบสายส่งไฟฟ้าแรงสูง
ปัจจุบันใช้ขนาด 477 MCM และ 1272 MCM เพราะถ้ามีหลายขนาดเกินไปจะทำให้มีปัญหาในการบำรุงรักษา
สาย Grounding Cable
ใช้เป็นระบบ Ground ของอุปกรณ์ไฟฟ้าในสถานีไฟฟ้าแรงสูง
บทที่3 สถานีไฟฟ้าย่อยและอุปกรณ์ไฟฟ้า
บทที่4ระบบส่งและระบบจ่ายกำลังไฟฟ้า
การส่งและจ่ายพลังงานไฟฟ้าในระบบส่ง มี 2 ชนิด
ระบบเรเดียล
ระบบเรเดียลที่มีการต่อเชื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าสำรอง
ระบบลูป
ระบบลูปที่มีแหล่งจ่ายพลังไฟฟ้า 2 แหล่ง
ระบบวงจรตาข่าย
ระบบนี้จะเชื่อมต่อสถานีไฟฟ้าย่อยถึงกันทั้งหมด
การจ่ายพลังไฟฟ้าในระบบจำหน่าย
วงจรสายป้อนหลักแบบเรเดียล
ระบบเรเดียลแบบธรรมดา
ระบบเรเดียลแบบต่อเชื่อมในสภาวะฉุกเฉิน
ระบบเรเดียลแบบต่อเชื่อมด้วยอุปกรณ์ตัดตอนอัตโนมัติ
วงจรสายป้อนหลักแบบลูป
วงจรสายป้อนหลักแบบตาข่าย
เทคนิคการปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
กำลังจริง
กำลังรีแอกตีฟ
กำลังปรากฎ
การปรับปรุงตัวประกอบกำลังของระบบ
อุปกรณ์ที่ใช้ปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
ตัวเก็บประจุ
ซิงโครนัสมอเตอร์
บทที่5การคำนวณโหลดในสถานีไฟฟ้าย่อย
คุณลักษณะของโหลด
แบ่งตามสภาพแวดล้อหรือทางสภาพภูมิศาสตร์
โหลดยานธุรกิจในเมือง
โหลดในเมือง
โหลดในชนบท
แบ่งตามชนิดของลูกค้าหรือผู้ใช้ไฟฟ้า
ประเภทที่อยู่อาศัย
ประเภทธุรกิจ
ประเภทอุตสาหกรรม
แบ่งตามการให้บริการไฟฟ้า
โหลดวิกฤต
โหลดฉุกเฉิน
โหลดปกติ
โหลดกราฟ
โหลดกราฟประจำวัน : แสดงผลของโหลดใน 1 วัน
โหลดกราฟประจำเดือน : แสดงผลใน 1 เดือน
โหลดกราฟประจำปี
กราฟของโหลดดิวเรชั่น
ดีมานด์
โหลดแฟกเตอร์
ดีมานด์แฟกเตอร์
ไดเวอร์ชิตีแฟกเตอร์
โคอินซิแดนซ์แฟกเตอร์
การเติบโตของโหลด
การเติบโตของโหลดในพื้นที่ เป็นตัวประกอบที่มีความสำคัญเพราะจะมีอิทธิพลต่อการขยายระบบจำหน่ายพลังงานไฟฟ้า
ดัชนีการผลิต
ดัชนีการผลิตประจำปี
อัตราส่วนระหว่างพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นมาจริงๆ ต่อพลังงานไฟฟ้าสูงสุดที่สามารถผลิตขึ้นมาได้ในระยะเวลา 1 ปี (8760 ชั่วโมง)
กำลังผลิตสำรอง
= 1 - ดัชนีการผลิต
ดัชนีการใช้งาน
อัตราส่วนระหว่างพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นมาได้จริงๆต่อพลังงานไฟฟ้าสูงสุดที่สามารถผลิตขึ้นมาได้ในช่วงระยะเวลาที่เครื่องทำงานจริง
นายกรกฎ พรมคำน้อย 61010310107 Sec.1