Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษาบริบทชุมชน original_11 - Coggle Diagram
การศึกษาบริบทชุมชน
ความหมายบริบทชุมชน
การศึกษาความสมพันธ์ระหว่างสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ของชุมชนในเชิงประวัติความเป็นมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เชิงวิทยาศาสตร์ ตลอดจนเชิงคติวิทยา
สถานการณ์แวดล้อมหรือความรู้เกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่ของชุมชน
การสำรวจสืบค้นตีความหมายพฤติกรรมของคนในชุมชน อันสะท้อนความเป็นจริงของชุมชนในด้านการตั้งถิ่นฐาน เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของผู้คนในชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป
หลักการในการศึกษาชุมชน
การทำความรู้จัก
การยอมรับในความแตกต่างของชุมชน
การเรียนรู้เรื่องราวของชุมชน
การทำความเข้าใจเรื่องแบบแผนการดำรงชีวิตและการตัดสินใจของคนในชุมชน
การอธิบายถึงสภาพโดยรวมของชุมชนอย่างเป็นระบบ
การตีความหมายที่ซ่อนอยู่จากพฤติกรรม
การวิเคราะห์เพื่ออธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อชุมชนนั้น ๆ
การประเมินผล เพื่อมองปัญหาและหาทางแกไขปัญหานั้น ๆ
ประเภทของการศึกษาชุมชน
จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการนำความรู้ไปใช้
แบบหาความรู้พื้นฐานทั่วไป
แบบทดสอบความรู้เดิม
เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
เพื่อหารูปแบบจำลอง Model ไปใช้ในงานพัฒนา
จำแนกตามเนื้อหาข้อมูลที่จะนำไปใช้
ศึกษาข้อมูลโดยละเอียดเพื่อการวางแผนระยะยาว
ศึกษาข้อมูลเฉพาะ เพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
จำแนกตามวิธีการเก็บข้อมูล
ศึกษาเชิงปริมาณ โดยใช้ข้อมูลการวิเคราะห์ทางสถิติ
ศึกษาเชิงคุณภาพ
จำแนกตามมุมมองและทัศนคติของผู้ศึกษา
ศึกษาโดยคนภายในชุมชน
ศึกษาโดยคนภายนอกชุมชน
องค์ประกอบหลักของฐานการศึกษาชุมชน
โครงสร้างสังคม Social Structure
สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ Ecology
ระบบวัฒนธรรมและอุดมการณ์ Culture and Ideology
ประเด็นในการศึกษาชุมชน
ประวัติความเป็นมาในช่วงเวลาต่าง ๆ
เงื่อนไขด้านภูมิศาสตร์ สภาพแวดล้อม
รูปแบบการทำมาหากิน
ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในชุมชน
การจัดระเบียบสังคม
โครงสร้างอำนาจ
อุดมการณ์ ความเชื่อ และมุมมอง
ปัจจัยและอิทธิพลภายนอก
องค์ความรู้ ภูมิปัญญา
ศักยภาพด้านต่าง ๆ
ปัญหาต่าง ๆ
การเก็บขัอมูลชุมชน
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับชุมชน
สภาพภูมิประเทศ
โครงสร้างประชากร
โครงสร้างการศึกษา และสาธารณูปโภค
ประวัติความเป็นมา
ข้อมูลระบบเศรษฐกิจ การใช้ทรัพยากร
การครอบครองทรัพยากรในการผลิต
กระบวนการผลิตและผลผลิต
การแลกเปลี่ยนและการบริโภค
รายได้/รายจ่ายและหนี้สิน
ข้อมูลเกี่ยวกับระบบสังคม และการเมืองในชุมชน
ครอบครัวและเครือญาติ
เพื่อนบ้านและเพื่อน
กลุ่มอุปถัมภ์ กลุ่มผลประโยชน์ กลุ่มอาชีพ กลุ่มการเมือง และอื่น ๆ
การศึกษาสถาบันต่าง ๆ ของชุมชน
วิธีการศึกษาชุมชน
การสังเกต
การแจงนับจำนวนแบบสมบูรณ์
การสุ่มตัวอย่าง
การสัมภาษณ์
การใช้แบบสอบถาม
การใช้สถิติต่าง ๆ
การศึกษารายกรณี
การสำรวจ
การศึกษาจากผู้รู้และแหล่งวิชาต่าง ๆ
การสนทนากลุ่ม
เทคนิควิธีการศึกษาชุมชน
การสังเกตการณ์ Observation
สังเกตอย่างมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด
สังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด
การสัมภาษณ์ Interview
สัมภาษณ์แบบเจาะจง
การสัมภาษณ์ที่ไม่กำหนดคำตอบล่วงหน้า
สัมภาษณ์แบบเจาะลึก
การสัมภาษณ์ซ้ำ
การสนทนากลุ่ม Focus Group
การใช้ข้อมูลเอกสาร
สถิติและบันทึกต่าง ๆ
เอกสาร
การเข้าสนาม
การศึกษาแบบผสมผสาน
ประยุกต์ใช้หลาย ๆ วิธี