Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะสัมผัส - Coggle Diagram
อวัยวะสัมผัส
ตา
เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ในการมองเห็น
รูปร่างค่อนข้างกลม
ขนานเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 24 มิลลิเมตร
ประกอบด้วย 3 ชั้น
ชั้นกลาง : มีหลอดเลือดจำนวนมาก
Ciliary body
สร้างของเหลวที่ เรียกว่า aqueous humor
ทำหน้าที่
ให้อาหารแก่เลนส์และกระจกตา
ช่วยรักษาความดันในลูกตาให้คงที่
หน้าสุดของ choroid
Choroid
มีเซลล์เม็ดสี(pigmented cell)
ทำให้มีเป็นสีน้้ำตาล
ทำหน้าที่
อาหารมาเลี้ยงส่วนนอกของจอตา เลนส์และ vitreous body
ม่านตา (Iris)
แผ่นบาง ๆ ยืดหดได้
หน้าที่
ควบคุมปริมาณแสงเข้าสู่ตา
แบ่งช่องที่อยู่ระหว่างเลนส์และกระจกตา
2 ส่วน
posterior chamber
anterior chamber
ภายในช่องทั้งสองมีของเหลวใสเรียกว่า aqueous humor
อยู่หลังกระจกตาหน้าเลนส์
ตรงกลางมีช่องเรียกว่า รูม่านตา (pupil)
ชั้นใน
จอประสาทตา (Retina)
มีความไวต่อแสงมาก
หน้าที่
รับภาพจากแก้วตา
ส่งมาเป็นพลังงานแสงแล้วแปลงเป็นพลังงานไฟฟ้าให้เราเห็น
ส่งต่อไปยังประสาทตา
เพื่อส่งต่อไปยังสมองเพื่อแปลงพลังงานไฟฟ้ากลับเป็นภาพ
ส่วนหลังสุดของลูกตา
แก้วตา (Lens)
หน้าที่
ช่วยกระจกตาทำหน้าที่ในการหักเหของแสง
มีชีวิตอยู่ได้โดยอาหารจากสารน้ำในลูกตาและวุ้นตา
วุ้นตา (Vitreous)
แหล่งอาหารแก้วตา เนื้อเยื่อ Ciliary body และจอตา
ชั้นนอก : เป็นชั้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
กระจกตา (Cornea)
ลักษณะโปร่งแสง
หน้าที่
ช่วยในการโฟกัสภาพ
หักเหแสงร่วมกับเลนส์ตา
เปลือกลูกตา (Sclera)
หน้าที่
ห่อหุ้มลูกตา
เพื่อรักษาทรงของลูกตา
ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อชั้นใน
การตรวจตา
เทคนิคดูและคลำ
ลูกตา
ดูความชุ่มชื่น
ดูความนูนของลูกตา
ปกติขณะลืมตา
ดูตำแหน่งของลูกตา
ขอบของเปลือกตาบนจะคลุมรอยต่อของตาดำและขาว(Limbus)
ดูภาวะตาโปน (Exopthaimos)
คลำลูกตาเพื่อประเมินความนุ่ม
ปกติจะนุ่มแต่ถ้าแข็ง บ่งบอกถึงภาวะความดันในลูกตาสูง
หนังตา
ดูความบวมช้ำ เป็นก้อน
เปลือกตาตกหรือไม่
ถ้าพบ กล้ามเนื้อลูกตาเสีย
สังเกตการดึงรั้งของหน้งตา
ขนตา
ขนตาปลิ้นออก (ectropion)
ขนตาม้วนเข้า (entropion)
รูม่านตาและแก้วตา
แก้วตาถ้าปกติจะเป็นสีดำและใส
ถ้าขุ่นจะเป็นต้อกระจก
ดูความสมมาตรของรูม่านตา และสังเกตุรูม่านตาว่าเป็นวงกลมหรือไม่
ต้อหิน (Glaucoma)
ค่าความดันของลูกตาอยู่ประมาณ10 – 20 mmHg
เมื่อมีแรงดันลูกตาเพิ่มมากขึ้น
ประสาทตาถูกทำลาย
ส่งผลให้เกิด
สูญเสียประสิทธิภาพของลานสายตา
สูญเสียสมรรถภาพของการมองเห็น
มีความดันในลูกตา (IOP) มีขั้วตาผิดปกติ
สูญเสียลานสายตา (visual field) ร่วมด้วย
สาเหตุ
มีการคั่งของน้ำเอเควียสจากมีโครงสร้างตาผิดปกติ
มีความเสื่อมของเนื้อเยื่อภายในลูกตา
ความผิดปกติของ trabecular meshwork ตั้งแต่กำเนิด
ต้อกระจกสุกหรือต้อกระจกสุกงอม
ชนิดและอาการของโรคต้อหิน
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
ต้อหินทุติยภูมิ (Secondary glacoma)
โรคทางกายที่ทำให้การไหลของเอเควียสลดลง
ต้อหินแต่กำเนิด (Congenital glacoma)
โดยชนิดการเกิดต้อนั้น อาจเป็นแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
ต้อหินปฐมภูมิ (Primary glacoma)
ต้อหินชนิดมุมเปิด (open – angle glacoma)
ตีบแคบของท่อtrabecular meshwork
ทำให้การระบายน้ำเลี้ยงภายในลูกตาลดลง
ความดันในลูกตาสูงขึ้นทีละน้อย
2 more items...
ต้อหินชนิดมุมปิด (angle – closure glacoma)
มีการตีบแคบของ trabecular meshwork
ทำให้การระบายน้ าเลี้ยงในลูกตาลดลง
ทำให้มีแรงกดภายในลูกตา
1 more item...
อาการและอาการแสดง
ต้อหินระยะเฉียบพลัน
ตามัวลงคล้ายหมอกมาบัง
ปวดตามากสู้แสงไม่ได้
บางคนมองเห็นแสงสีรุ้งรอบ ๆ ดวงไฟ
ต้อหินระยะเรื้อรัง
ไม่มีอาการปวด
ลานสายตาจะค่อย ๆ แคบลง
ตาพร่ามัว รู้สึกเพลียตา
การรักษา
ต้อหินปฐมภูมิ (Primary glacoma)
การรักษา ต้อหินระยะเฉียบพลัน
แพทย์มักให้ยาหยอดตาหรือยาทานรวมถึงยาฉีด
ต้องรีบรักษาเพื่อลดความดันในลูกตาให้ลงสู่ระดับปกติ
ต้อหินระยะเรื้อรัง
แพทย์จะให้รักษาเพื่อมิให้ยาหยอดตาและยารับประทาน
เพื่อเพิ่มการไหลออกหรือลดการผลิตน้ำเอเควียส
การพยาบาลผู้ป่วยต้อหิน
แนะนำให้ใส่แว่น หลีกเลี่ยงการขยี้ตา หลังทำเลเซอร์
ทำเลเซอร์
หลังทำอาจมีอาการปวดศีรษะหรือตามัวลงเล็กน้อย
สอนหยอดยาอย่างมีประสิทธิภาพ
หากมีอาการ ตาแดง น้ำตาไหล ปวดตามาก ตามัวลง หรือตาสู้แสงไม่ได้ให้มาตรวจก่อนวันนัด
ต้อกระจก(Cataract)
อาการ
มองเห็นเป็นวงแหวนรอบแสงไฟหรือหลอดไฟ
ผู้ป่วยอาจเข้าใจว่าความพร่ามัวเกิดจากระดับสายตาที่มีปัญหา
สายตาสั้น
นำไปสู่การเปลี่ยนแว่นตาหรือคอนแท็คเลนส์บ่อย ๆ
มองเห็นเป็นภาพซ้อน
มองเห็นได้ไม่ชัดเจน ภาพเบลอ หรือพร่ามัว
เป็นภาวะแก้วตาขุ่น
ทำให้เกิดอาการตามัว มองเห็นภาพไม่ชัดเจน
สาเหตุ
ความผิดปกติโดยกำเนิด (Congenital cataract)
เกิดจากสาเหตุอื่น ๆ (Secondary cataract)
โดนของมีคมทิ่มแทงทะลุตาและไปโดยเลนส์ตา
อาจเกิดจากอุบัติเหตุกระทบกระเทือนอย่างแรงที่ลูกตา
การเสื่อมตามวัย (Senile cataract)
ต้อกระจกที่ยังไม่สุก (immature cataratc)
ตาขุ่นไม่มาก
ทึบตรงส่วนกลางแก้วตา แต่ส่วนรอบ ๆ ยังใส
1.การขุ่นของแก้วตาเริ่มที่เปลือกหุ้มแก้วตา แต่บริเวณกลางแก้วตายังคงใส
ต้อกระจกที่สุกเกินไป (hypermature cataract)
ขนาดเลนส์เล็กลงและมีเปลือกหุ้มเลนส์ที่ย่น
เลนส์แข็งมากขึ้น หากปล่อยทิ้งไว้ตาจะบอดได้
ระยะนี้ทำผ่าตัดค่อนข้างยาก เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
ต้อกระจกที่สุกแล้ว (mature cataratc)
แก้วตามีความแข็งตัวในขนาดที่พอดี
ระยะนี้เหมาะสมกับการผ่าตัดมากที่สุด
ตาขุ่นทั้งหมด
ความขุ่นของแก้วตากระจายไปทั่วลูก
เมื่อใช้ไฟฉายส่องเฉียง ๆ จะไม่พบเงาม่านตาและวัดสายตาได้
วินิจฉัย
การทดสอบโดยขยายรูม่านตา (Retinal Eye Exam)
การตรวจโดยใช้กล้องจักษุจุลทรรศน์ชนิดลำแสงแคบ (Slit Lamp Examination
การตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test)
การตรวจวัดความดันลูกตา (Tonometry Test)
การรักษา
มีวิธีเดียว คือ การผ่าตัดเอาแก้วตาที่ขุ่นออก เรียกว่า ลอกต้อกระจก
ชนิดของการผ่าตัด
Intracapsular cataract extraction (IICE)
ผ่าตัดนำแก้วตาที่ขุ่นพร้อมทั้งเปลือกหุ้มเข้าตาทั้งหมด
ผ่าตัดชนิดนี้มีผลไม่แน่นอน
มีผลต่อสายตาการมองถ้าไม่ใส่เลนส์เข้าไปแทน
Extracapsular cataract extraction (ECCE)
ผ่าตัดเอาแก้วตาที่ขุ่นออกพร้อมทั้งเปลือกหุ้มเข้าตาด้านหน้า
โดยเหลือเปลือกหุ้มแก้วตาด้านหลัง
Phacoemulsification with Intraocular Lens (PE C IOL)
ใช้คลื่นเสียงหรืออัลตราซาวด์ที่มีความถี่สูงเข้าไปสลายเนื้อแก้วตาแล้วดูดออกมาทิ้ง
จึงนำแก้วตาเทียมใส่เข้าไปแทน
ข้อดี
ระยะพักฟื้นหลังการผ่าตัดสั้นกว่า
ข้อเสีย
เป็นวิธีใหม่ ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดต้อกระจก
หลีกเลี่ยงการไอจามแรง ๆ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยต้องระมัดระวังการกระทบบริเวดวงตาและศรีษะ
จัดท่านอนให้ผู้ป่วยไม่นอนทับบริเวณตาที่ได้รับการผ่าตัด
ทานอาหารอ่อนๆ
เน้นกลางคืนปิดฝาครอบตา กลางวันใส่แว่นตาสีชาหรือสีด
ระวังอย่าให้น้ำกระเด็นเข้าตา
การป้องกัน
จัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีแสงสว่างที่พอดีและสบายต่อการมองเห็น
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
โปรตีนจาก ไข่ เนย นม ตับสัตว์
วิตามินเอสูงช่วยในการบำรุงสายตา
ไม่ควรใช้สายตาติดต่อกันเป็นเวลานาน ควรหยุดพักสายตาเป็นระยะ
เลี่ยงการเผชิญแสงแดดโดยตรงเพื่อป้องกันอันตรายดวงตา
Retinal Detachment (จอประสาทตาลอก)
แบ่งเป็น 2 ชนิด
ชนิดไม่มีรูขาดที่จอประสาทตา (Nonrhegmatogenous retinal detachment or exudative retinal detachment)
เกิดจากรูหรือรอยฉีกขาดที่จอประสาทตา (Rhegmatogenous retinal detachment)
ชนิดที่เกิดจากการดึงรั้ง (Tractional retinal detachment)
อาการ
มองเห็นคล้ายม่านบังตา(scotoma)
มองเห็นแสงวูบวาบคล้ายฟ้าแลบ (flashes of light)
ตามัว
สาเหตุ
การได้รับอุบัติเหตุถูกกระทบกระเทือนบริเวณที่ตา
มีการเสื่อมของจอประสาทหรือน้ำวุ้นตา (vitreous)
การป้องกัน
เข้ารับการตรวจสายตาเป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะผู้ที่มีสายตาสั้นอย่างมาก
สวมใส่แว่นสำหรับป้องกันดวงตาขณะทำกิจกรรม
ไปพบจักษุแพทย์เมื่อมีอาการผิดปกที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็น
การรักษา
การฉีดก๊าซเข้าไปในตา (Pneumatic retinopexy)
ใช้สำหรับผู้ป่วยที่จอประสาทตาฉีกขาดเพียงเล็กน้อย
การผ่าตัดหนุนจอประสาทตา (Scleral buckling)
ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง
Cryocoagulation (การจี้ด้วยความเย็น)
การผ่าตัดน้ำวุ้นลูกตา (Pars plana vitrectomy)
มักใช้กับผู้ป่วยที่มีจอประสาทตาฉีกขาดขนาดใหญ่
การพยาบาล
หลังผ่าตัด
จัดท่านอนคว่ำหน้าหรือนั่งคว่ำหน้าให้ได้อย่างน้อยวันละ 16 ชม.
เพื่อให้แก๊สที่ใส่ไว้ขณะผ่าตัดไปกดบริเวณจอประสาทตาที่ลอกหลุด
ช่วยให้จอประสาทตาติดกลับเข้าที่ได
ควรให้กำลังใจและให้ข้อมูลเกี่ยวกับแผนการรักษาเป็นระยะ
ได้รับการวัดความดันลูกตาหลังผ่าตัด 4-6 ชม.
รับประทานอาหารอ่อนๆ
ก่อนผ่าตัด
แนะนำหลีกเลี่ยงขยี้ตา
แนะนำห้ามก้มหน้า
ดูแลให้ผู้ป่วย Absolute bed rest
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค แผนการรักษา การผ่าตัด เพื่อลดความกังวล
เมื่อกลับบ้าน
ระวังอย่าให้น้ำหรือฝุ่นละอองเข้าตา
ควรหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่หักโหม
ควรทำความสะอาดใบหน้าโดยใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำบิดหมาด ๆ เช็ดหน้าเบา ๆ เฉพาะข้างที่ไม่ได้ผ่าตัด
ไม่ควรยกของหนักหรือทำงานหนัก
อุบัติเหตุทางตา EYE Injury
การรักษา
หากเกิดภาวะ corneal abrasion อาจได้รับการป้ายยาและปิดตาแน่น (pressure patch) ไว้ 24 ชั่วโมง
รักษาด้วยการใช้ยาขึ้นกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น
ยาป้องกันการติดเชื้อ
ยาลดความดันตา
ล้างตาโดยเร็วที่สุด หากเป็นไปได้ผู้ป่วยควรได้รับการล้างตาด้วยน้ำสะอาดปริมาณมาก
การรักษาด้วยการผ่าตัด
อาจมีการปลูกถ่ายเยื่อหุ้มรกเพื่อปิดแผล
เปลี่ยนกระจกตา
ขูดเซลล์กระจกตาที่ตายแล้วออก
การผ่าตัดชนิดใดขึ้นกับความรุนแรง
การพยาบาล
ดูแลบรรเทาอาการปวดกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการปวดตามาก
ให้ทานยาตามแผนการรักษาให้ครบ
ล้างตาให้ผู้ป่วยโดยเร็วที่สุด โดยใช้ Normal saline หรือ sterilewater โดยใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาที
อันตรายจากสารเคมี(chemical injury)
อาการ
การมองเห็นจะลดลง
สายตาสู้แสงไม่ได้
ปวดแสบปวดร้อนระคายเคืองตามาก
สารเคมี
สารกรด
สารด่าง
เลือดออกในช่องม่านตา Hyphema
อาการ
มีเลือดออกด้านหน้าของดวงตา
ตาพร่ามัว หรือการมองเห็นแคบลง
ปวดตา
ตาแพ้แสง
ตรวจพบจากเครื่องมือแพทย์ที่เรียกว่า Slit lamp
Grade 4
มีเลือดออกเต็มช่องหน้าม่านตา
Grade 3
เลือดออก 1/2 ถึงเกือบเต็มช่องหน้าม่านตา
Grade 2
เลือดออก 1/3 ถึง 1/2 ของช่องหน้าม่านตา
Grade 1
น้อยกว่า1/3 ของช่องหน้าม่านตา
ภาวะแทรกซ้อน
Increase intraocular pressure
Blood stain cornea
Rebleeding
สาเหตุ
ภาวะแทรกซ้อนจากการปลูกถ่ายเลนส์แก้วตา
การติดเชื้อที่ดวงตา
ความผิดปกติของหลอดเลือดบริเวณด้านหน้าของม่านตา
โรคเกี่ยวกับเลือด
การรักษา
ปิดตาทั้งสองข้างเพื่อให้ได้พักผ่อนลดโอกาสการเกิด rebleeding
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด paracetamol และ diazepam
เพื่อให้พักผ่อนและประเมินอาการปวดตา
Absolute bed rest ท่านอนนอนศีรษะสูงประมาณ 30-45 องศา
อาจได้ยาสเตียรอยด์หยอดเพื่อช่วยป้องกันการเกิด rebleeding
การพยาบาล
ถ้าผู้ป่วยปวดตาต้องติดตามประเมินอาการปวดภายหลังผู้ป่วยทานยาแก้ปวด 30 นาที
เช็ดตาทุกวันในตอนเช้าพร้อมทั้งประเมินว่ามีภาวะเลือดออก
ปิดตาทั้ง 2 ข้างที่มีเลือดออกด้วยผ้าปิดตา (eye pad) และที่ครอบตา (eye shield) ไขหัวเตียงสูง 30-45 องศา
ให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียงให้มากที่สุด
แนะนำให้ผู้ป่วยนอนนิ่งๆ ไม่ควรลุกจากเตียงประมาณ 3 – 5 วัน
ความผิกปกติของจอประสาทตาจากโรคเบาหวาน(Diabetic Retinopathy)
อาการและอาการแสดง
เบาหวานระยะแรก (Non-Proliferation diabeticretinopathy=NPDR)
เบาหวานระยะรุนแรง (Proliferation diabeticretinopathy=PDR)
ตามัว
อาจเกิดจากจอประสาทตาบวม
มีเลือดออกในวุ้นตา
จอประสาทตาถูกดึงรั้งหลุดลอก
การรักษา
ฉีดยาเข้าในน้ำวุ้นตา
ข้อดี การมองเห็นจะกลับคืนมาได้เกือบเท่าหรือเท่าปกติ
กลุ่ม steroid,ยา กลุ่ม Anti VEGF
เพื่อรักษาโรคจุดกลางรับภาพจอประสาทตาบวมจากเบาหวาน
ข้อจำกัดยามีฤทธิ์อยู่ได้ชั่วคราวเฉลี่ย 3-4 เดือน และต้องการฉีดด้วยเทคนิคปลอดเชื้อในห้องผ่าตัด
การผ่าตัดน้ำวุ้นตา (Vitrectomy)
กรณีที่โรครุนแรงจนมีเลือดออกหรือมีพังผืด
ป้องกันไม่ผู้ป่วยสูญเสียการมองเห็นอย่างถาวร
ยิงเลเซอร์(Panretinalphotocoagulation=PRP)
จุดรับภาพส่วนกลางบวม และในผู้ที่มีเส้นเลือดผิดปกติงอกใหม่
การพยาบาล
ตรวจจอประสาทตาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
รับประทานยาหรือฉีดยาลดระดับน้ำตาลในเลือดอย่างสม่ำเสมอ
ควบคุมระดับน้ำตาลให้คงที่
เพื่อลดอัตราการเกิดความผิดปกติ
แผลที่กระจกตา(Corneal Ulcer)
สาเหตุ
ความผิดปกติบริเวณหนังตา
การสวมใส่คอนแทคเลนส์ที่ไม่ถูกสุขลักษณะ
มีความผิดปกติของกระจกตา
ขนตายาวจนอาจไปทิ่มหรือถูกับกระจกตา
กระจกตามีภูมิต้านทานต่อเชื้อโรคต่ำ
อุบัติเหตุ (trauma)
การรักษา
ส่งเสริมให้เกิดการแข็งแรงของร่างกาย
บรรเทาอาการปวดโดยให้รับประทานยาแก้ปวด
หาเชื้อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
ขูดเนื้อเยื่อของแผลไปย้อมและเพาะเชื้อ (scrape lesion)
อาการ
รู้สึกมีบางอย่างอยู่ในตา
ตาอักเสบ เปลือกตาบวม
แสบตา มีน้ำตาไหลออกมาตลอดเวลา
คันตา ตามัว
มีหนองหรือของเหลวไหลออกจากตา
การพยาบาล
แยกเตียง ของใช้ และยาหยอดตาของผู้ป่วยใช้เป็นส่วนตัว
หยอดตาตามแผนการรักษา
เช็ดตาวันละ 1-2 ครั้ง
แนะนำห้ามขยี้ตา
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนและได้รับอาหารที่เพียงพอ
การป้องกัน
ผู้ที่มีอาการตาแห้งหรือตาปิดไม่สนิทเป็นเวลานาน ควรรีบไปพบแพทย์ทันที
หากเกิดการติดเชื้อหรือบาดเจ็บที่ดวงตา ผู้ป่วยควรไปพบแพทย์
ล้างมือก่อนสัมผัสดวงตาและหลีกเลี่ยงการสัมผัสดวงตาโดยไม่จำเป็น
สวมอุปกรณ์ป้องกันดวงตาเสมอ
หู
แบ่งออกเป็น 3 ชั้น
หูชั้นกลาง
เป็นโพรงอากาศอยู่ระหว่างแก้วหูและหูชั้นใน
Incus ทั่ง
Stapes โกลน
Malleous ค้อน
หูชั้นใน
มี 2 ส่วน
Bony labyrinth
Membranous labyrinth
เป็นที่อยู่ของอวัยวะรับเสียงและอวัยวะที่ทรงตัว
หูชั้นนอก
รูหู
มีลักษณะเป็นรูแตัว S
แก้วหู
มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
Epithelium layer
Fribous layer
Mucous layer
ใบหู
รวบรวมคลื่นเสียง
กลไกการได้ยิน
2 ทาง
ได้ยินเสียงผ่านกระดูก (Bone conduction)
เสียงจากการสั่นของกระดูกจะผ่านกระดูกมาสตอยด์เข้าไปถึงหูชั้นใน
ได้ยินเสียงผ่านทางอากาศ (Air conduction)
เสียงเข้าสู่ใบหูให้เสียงผ่านรูหูไปกระทบแก้วหูจนเกิดการสั่นสะเทือนแล้วเข้าผ่านไปในหูชั้นใน
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติ
มีอาการเวียนศรีษะ
ได้ยินเสียงในหู
มีของเหลวไหลออกมาจากหู
อาการหูอื้อ
มีอาการปวดหู
การตรวจ
ตรวจร่างกายภายใน
ตรวจช่องหู โดยเครื่อง Otoscopy
ตรวจดูเยื่อแก้วหู
ตรวจร่างกายภายนอก
ใช้การดูและการคลำ
ดูการบวม แดง มีฝี มีรู หรือไม่
ถ้าตรวจแล้วไม่พบความผิดปกติใดๆ ให้ตรวจศรีษะและคอด้วย
ช่องจมูก
ไซนัส
ช่องคอ
กล่องเสียง หลอดลม
ด้านหน้า ต่อมน้ำเหลือง
ช่องปาก
ดูเหงือก ฟันผุ ฟันคุด หรือเนื้องอก
ตรวจพิเศษ โดย CT Scan MRI
ตรตวจพิเศษด้วยเครื่องมือ
Audiometry
เครื่องตรวจการได้ยินแบบไฟฟ้า
Tuning Fork Test
ตรวจโดยการใช้ส้อมเสียง
การแปลผล
ระบบประสาทรับฟังเสียงบกพร่อง
ข้างดีจะได้ยินชัดเจน
ระบบนำเสียงบกพร่อง
ข้างมีปัญหาจะได้ยินชัดเจน
ถ้าคนปกติได้ยินทั้ง 2 ข้าง
การแปลผล Rine Test
Rine Test Negative
BC>AC
False Negative Rine
BC>AC
Rine Test Positive
AC>BC
Weber test
วินิจฉัยผู้ป่วยที่มีปัญหาการนําเสียงบกพร่อง
ตรวจการได้ยินโดยผ่านการนําเสียงกระดูก
Rine Test จําแนกประเภทของการสูญเสียการได้ยิน
ตรวจโดยการใช้คำพูด(Speech Adiometry)
Speech Discrimination
ประสิทธิภาพของหูในการแยกเสียงและเข้สใจความหมายที่พูด พยางค์เดียว
Speech Reception Threshold (SRT)
เสียงพูดที่ต่ำสุดเพื่อให้ผู่ป่วยเข้าใจเป็นคำพูด 2 พยางค์ที่ฟังแล้วคุ้นเคยมาก
การตรวจ Vestibular Function Test
Unterberger's Test
ทําเหมือน Rombergแต่ยื่นมือไปข้างหน้า หลับตา และซอยเท้าอยู่กับที่
Gait Test
ให้เดินตามแนวเส้นตรงระหว่างจุด 2 จุด แล้วหมุนตัวเร็ว ๆ กลับมาที่เดิม
Romberg's Test
ยืนตรง ส้นเท้าและปลายเท้าชิดกัน มองตรงไปข้างหน้า
ตรวจดู Nystagmus
ทํา Head Shaking (สั่นศีรษะในแนวระนาบนอน 20 ครั้ง)
เพื่อดูอาการเวียนศีรษะ
โรคหูชั้นนอก
สิ่งแปลกปลอดในหูชั้นนอก
เด็กเล็กมักพบของเล่นชิ้นเล็ก ยัดใส่ รูหู ทําให้เกิดอาการติดเชื้อ
ผู้ใหญ่มักพบเป็นเศษชิ้นส่วนของไม้พันสําลีหรือพวกแมลง
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ สูญเสียการได้ยิน
การรักษา
สิ่งมีชีวิต
ใช้แอลกฮอล์70% หรือยาหยดประเภทน้ํามันหยอดลงไป แล้วคีบออก
สิ่งไม่มีชีวิต
น้้ำสะอาดหรือเกลือปราศจากเชื้อหยอดจนเต็มหูแล้วเทน้ำออกหรือใช้ที่ล้างหูช่วย
แก้วหูทะลุ (Ruptured eardrum)
อาการ
หูอื้อ มีเสียงดังในหู มีอาการปวดในรูหู
การรักษา
ทิ้งไว้เฉยๆ ไม่ต้องล้าง
ไม่ต้องหยอดยาที่หู แต่รัยประทานยากันติดเชื้อ
ถ้าอาการไม่หายภายใน 1-2 เดือน ทำการซ่อมแซมเยื้อแก้วหู Maringoplasty
ไม่ต้องทำความสะอาดภายในช่องหู
ไม่ต้องเอาลิ่มเหลือดออก
สาเหตุ
เกิดจากการแคะหู หรือการพยายามนำสิ่งแปลกปลอมออกจากหู
เกิดจากการได้ยินเสียงดังจากวัตถุระเบิด
การดูแลตนเองหลังการผ่าตัด
ไอหรือจามควรเปิดปากเสมอ
ห้ามทำงานหนักหรือยกของหนัก
ให้รับประทานยาฆ่าเชื้อตามที่แพทย์สั่ง ถ้ามีอาการปวดให้ทานยาแก้ปวด
หลังการผ่าตัด 24 ชั่วโมง ควรนอนศีรษะสูง โดยการนอนหงายหรือนอนตะแคงข้างที่ไม่ได้ทำการผ่าตัด
ควรเคี้ยวอาหารในด้านตรงข้ามกับที่ทำการผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
อาการวิงเวียนศีรษะ
การอักเสบของกระดูกหลังหู
หูชั้นในอักเสบ
ใบหูชา
ขี้หูอุดตัน (Cerum Impaction)
อาการ
หูอื้อ ปวดหู
พยาธิสภาพ
ส่วนมากเกิดจากขี้หูสร้างมากผิดปกติ
ผู้สูงอายุต่อมสร้างขี้หูฝ่อ ทําให้ขี้หูแห้งและแข็ง
การรักษา : โดยการล้าง ใช้เครื่องดูด
การวินิจฉัย
แพทย์ใช้เครื่องมือ Otoscope ส่องตรวจในช่องหูชั้นนอก
โรคหูชั้นกลาง
หูน้ำหนวก Ostitis Media
เป็นภาวะที่มีการคั่งค้างของของเหลาวในหูชั้นกลาง
แบ่งเป็น 4 ชนิด
Chronic Otitis Media
รักษา
ให้ทานยา ยาปฏิชีวนะ ยาแก้ปวด ยาแก้แพ้ รวมทั้งยาหยอดหูในบางราย
ทำการผ่าตัด Thypanoplasty อาจจะต้องทำ Mastoidectomy
อาจทำให้เกิด ภาวะอัมพาตของใบหน้าได้
อาการ
เยื่อแก้วหูทะลุ มีน้ำหนองไหล หูอื้อหรือไม่ก็สูญเสียการได้ยิน
Serous Otitis Media
อาการระหว่าง 3 week- 3 month
Acute Otitis Media
เกิดในช่วงเวลาสั้น น้อยกว่า 3 week
สาเหตุ
เป็นหวัด คัดจมูก คออักเสบ
เพดานโหว่
ขณะเครื่องบินลง Barotrauma
อาการ
รู้สึกเหมือนมีน้ำอยู่ในหูตลอด
สูญเสียการได้ยิน หูอื้อ เวลาพูดรู้สึกก้องในหู
มีอาการปวดหู เยื่อแก้วหูนูนโป่ง
รักษา
รักษาทางยา ทานยาแก้แพ้ลดอาการคัดจมูกและยาปฏิชีวนะร่วมด้วย
การทำ Maringstomy
หลังทำห้ามแคะหู ห้ามน้ำเข้าหู ถ้ามีหนรองไหลใช้สำลีสะอาดเช็ด
Adhesive Otitis Media
เป็นนานอาจจะหลายปี
โรคหินปูนเกาะฐานกระดูกโกลน (Otosclerosis)
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ เวียนศรีษะ บ้านหมุนขณะเปลี่ยนท่า เสียงดังในหู
การรักษา
ใช้เครื่องช่วยฟัง สำหรับสูญเสียการฟังไม่มาก
วิธีผ่าตัด : ใส่วัสดุเทียมเข้าไปทำหน้าที่แทน
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด
อาจเกิด Measle virus
การบาดเจ็บจากแรงดันหู(Otitic Barotrauma)
สาเหตุ
ผลการเปลี่ยนแปลงความดันอากาศหรือความดันในหูชั้นกลาง
อาการและอาการแสดง
ปวดหู แน่นหู หรือสูญเสียการได้ยิน รวมกับการขึ้นเครื่องบินหรือดำน้ำ
พยาธิสภาพ
เส้นเลือดฉีกขาด ทําให้เกิดของเหลวหรือเลือดคั่งในหูชั้นกลาง
การป้องกันไม่ให้เกิด คือ พยายามปรับความดัน
การพยาบาลก่อน-หลังผ่าตัด
นอนราบตะแคงข้างไม่ผ่าตัด
ห้ามก้มมากๆ
ประเมินภาวะปากเบี้ยว ตาปิดไม่สนิท ชาที่หน้า
ห้ามยกของหนักมากๆนาน 2 สัปดาห์
รู้สึกเวียนศีรษะให้นอนพัก
ทานอาหารอ่อน
ไอจามเปิดปากทุกครั้ง
ห้ามสั่งน้ำมูก 2-3สัปดาห์
หลังผ่าตัดอย่าให้น้ำเข้าหู
โรคหูชั้นใน
โรคอาการเวียนศีรษะ Vertigo
การปฏิบัติการพยาบาล
ขณะมีอาการเวียนศีรษะควรนอนพักนิ่งๆบนเตียง
แนะนำให้ความรู้ โดยเฉพาะในเรื่องโรคและการรักษา เพื่อให้ผู้ป่วยนั้นดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ
แนะนำการเคลื่อนไหว โดยให้เคลื่อนไหวช้าๆ
จัดสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสมและช่วยให้ผู้ป่วยนั้นสามารถพักผ่อน
แนะนำการออกกำลังกาย แต่ไม่ควรออกที่หนักเกินไไป
ประสาทหูเสื่อมเฉียบพลัน
(Idiopathic Sudden Hearing Loss)
สาเหตุ
ไม่ทราบชัดเจน อาจเกิดจาก
การอุดตันของเลือดไปเลี้ยงที่หูชั้นใน
การรั่วของของน้ําในหูชั้นใน
การติดเชื้อ
การบาดเจ็บ
อาการและอาการแสดง
การได้ยินลดลงในหูข้างใดข้างหนึ่งอย่างฉับพลัน
อาการเวียนศีรษะร่วมด้วย
หูอื้อ
การรักษา
รักษาตามสาเหตุ
ยาขยายหลอดเลือด เพื่อเพิ่มเลือดไปเลี้ยงที่หูเพิ่มมากขึ้น
ยาวิตามิน บํารุงประสาทหูที่เสื่อม
การนอนพัก
ยาลดอาการเวียนศีรษะ ถ้ามีอาการ
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงเสียงดัง
หลีกเลี่ยงยาที่มีพิษต่อหู
ถ้าเป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ซีด ต้องควบคุมอาการให้ดี
หลีกเลี่ยงการติดเชื้อที่หู
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน
(Meniere's disease)
สาเหตุ
ไม่ทราบชัดเจน
อาการ
ประสาทหูเสื่อม
แน่นในหู มีเสียงดังในหู อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน
ทําให้หูอื้อ ได้ยินไม่ชัดเจน
รักษา
เมื่อมีอาการเวียนศีรษะควรหยุดเดินหรือนั่งพัก
หลีกเลี่ยงเดินทางด้วยเรือ
การกินยาขยายหลอดเลือด ฮิสตามีน จะช่วยให้มีการไหลเวียนไปที่หูเพิ่มมากขึ้น
ถ้าอาการดีขึ้นควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ
โรคหินปูนในหูชั้นในหลุดโรคเวียนหัวขณะเปลี่ยนท่า
สาเหตุ
อุบัติเหตุ
การติดเชื้อ
เสื่อมตามวัย
อาการและอาการแสดง
อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน รู้สึกโครงเครง สูญเสียการทรงตัว
การรักษา
ทำกายภาพบำบัด เป็นการขยับศีรษะและคอ
การผ่าตัด จะใช้ในกรณีที่รักษาด้วยยาและกายภาพไม่สำเร็จ
รักษาด้วยยา ยาบรรเทาอาการเวียนศรีษะ
การป้องกัน
เวลาทําอะไรควรทําอย่างช้า ๆ ทําอะไรค่อย ๆ
หลีกเลี่ยงการก้มเก็บสิ่งของ
เวลานอนควรนอนหนุนหมอนสูง หลีกเลี่ยงการนอนราบ
หูตึงเหตุจากสูงอายุ
สาเหตุ
อายุเพิ่มขึ้น
การรับเสียงที่ดัง
การใช้ยา
อาการและและอาการแสดง
การได้ยินลดลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป
การรักษา
ใช้เครื่องช่วยฟังเป็นหลัก
การจํากัดแคลอรี่ช่วยลดปริมาณไขมันในร่างกาย
จมูก
ริดสีดวงจมูก Nasal Polyp
อาการ
แน่นจมูก
หายใจไม่สะดวก
คันจมูก
เสียงขึ้นจมูก
อาจได้รับกลิ่นลดลงหรือไม่รู้สึก
การรักษา
Surgical Polypectomy
Nasal Polyp
ผ่าตัดโดยการใช้ Snaring คือการใช้ลวดคล้องแล้วค่อยๆดึงออก
Antrochonal poly
ใช้ยากลุ่ม Steroid พ่นจมูกเพื่อให้ติ่งยุบลง
สาเหตุ
อาจเกิดจากการเป็นหวัดนานๆ จากการแพ้ ติดเชื้อของเยื่อจมูก
การรักษา
แนะนำให้ทำความสะอาดโพรงจมูกโดยการล้างจมูก ด้วยน้ำเกลือปราศจากเชื้อทุกวัน
การให้ยาเพื่อป้องการเกิดซ้ำ
Prednisolone ร่วมกลับกลุ่มยา Steroid เพื่อพ่นจมูก
แพทย์จะต้องหาสาเหตให้พบ ไม่ฉะนั้นอาจจะต้องผ่าตัดซ้ำหรือไม่ก็รักษาซ้ำ
ไซนัส Sinusitis
มี 4 ตำแหน่ง
Maxillary Sinus
Sphenoidal Sinus
Frontal Sinus
Ethmoidal Sinus
สาเหตุ
การถอนฟัน ฟันผุ การสั่งน้ำมูกแรงๆ
การอักเสบของจมูก เนื้องอกในจมูก
ด้านร่างกาย
ภูมิต้านทานต่ำ
การเปลี่ยนแปลงของอากาศที่เย็นจัด
โดรคเลือด
ฝุ่นละออง
อาการ
มีน้ำมูกไหลออกมาทางรูจมูกด้านหน้า หรือไหลลงคอ อาการปวดร่วมด้วย
แน่นบริเวณใบหน้า อาจมีการรับกลิ่นเสียไป
อาการคัดหรือแน่นจมูก
ภาวะแทรกซ้อน
ทางสมอง
มองเห็นภาพซ้อนหรือ เห็นภาพไม่ชัด
ปวดศีรษะ มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
ทางตา
มองเห็นภาพซ้อนหรือเห็นภาพไม่ชัด
ตาบวม เจ็บตา กลอกตาแล้วเจ็บ
การรักษา
รับประทานยาปฏิชีวนะและยารักษาตามอาการ
การพยาบาล
เลี่ยงการแปรงฟันบริเวณที่เป็นแผล
ไม่ควรไอจามแรงๆ และต้องเปิดปาก
ประคบเย็น บรรเทาอาการ 48 ชม.แรก ไม่ต้องประคบร้อน
ไม่ควรออกกำลังกาย หรือยกของหนัก รวมทั้งการทำงานหนัก
จัดท่านอนศีรษะสูง 40-45 องศา เพื่อลดอาการบวม และจะได้หายใจได้สะดวกขึ้น
เลือดกำเดาไหล(Epistaxis)
สาเหตุ
เกิดการฉีกขาดของหลอดเลือดที่เยื่อบุจมูก
อาการ
เลือดออกผกนังกั้นจมูกส่วนหลัง
พบในผู้สูงอายุ
เลือดออกผกนังกั้นจมูกส่วนหน้า
พบมาในเด็กและหนุ่มสาว
รักษา
เลือดออกผกนังกั้นจมูกส่วนหน้า
ใช้สารเคมีหรือไฟฟ้า เพื่อหยุดที่ตำแห่งเลือดออก
ใส่ผ้ากอซที่มียาปฏิชีวนะ เพื่ออุดตำแหร่งที่มีเลือดออก
เลือดออกผกนังกั้นจมูกส่วนหลัง
ใช้ Gauze Tampon balloon Foley's เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
การพยาบาล
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา
ประคบเย็นและให้ยาแก้ปวดเพื่อลดอาการบวม
ห้ามสั่งนำ้มูกหรือแกะแผล
สังเกตผ้ากอซ ถ้าเลื่อนต้องตัดให้สั้น แต่ห้ามดึงออกเอง
อ้าปากเวลาไอจาม
นอนพักผ่อนให้เพียงพอ
อาจมีหู้อื้อได้ แต่จะหายเมื่อเอาตัวกดเลือดออก เอาออกหลังใส่ 48-72 ชม.
หลีกเลี่ยงการกระเทือนที่จมูก
เมื่อเอาตัวกดเลือกออกแล้วควรนอนพักนิ่งๆ 2-3 ชม.
ห้ามยกของหนักหรือออกแรงมากๆ
ช่องปากและลำคอ
Tomsillitis and Adenoiditis
สาเหตุ
อาจเกิดจากภาวะภูมิแพ้ หอบหืด ไซนัส
การเกิดต่อมทอลซิลอักเสบนั้น โดดยเชื้อที่ทำให้เกิดคือ Streptococci group A
เกิดจากแบคทีเรียรวมทั้งไวรัส
หน้าที่
หน้าที่หลัก
จับและทำลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย
หน้าที่รอง
สร้างภูมิคุ้มกัน
การผ่าตัด Tomsillectomy and Adenoidectomy
มีการกลืนลำบากมาก
ภาวะแทรกซ้อน สูญเสียการได้ยิน มีการอักเสบของหูชั้นกลาง
ผ่าตัดแล้วมีโอกาสที่จะเป็นซ้ำได้ในภาวะต่อมทอลซิลอักเสบ 4-5 ปี
จะทำก็ต่อเมื่อรักษาด้วยยาไม่ได้ผล
อาการ
ไข้ ไอ เจ็บคอ กลืนลำบาก
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการไปชุมชน ช่วง 7 วันแรก เพื่อป้องการเอาเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
แนะนำการทำกิจกรรมที่ต้องใช้งดเสียง
หลีกเลี่ยงการทานอาหารเผ็ดร้อน เปรี้ยว เนื่องจากจะทำให้เกิดอาการเคืองคอได้
อธิบายหลังผ่าตัดว่าอาจมีอาการไม่พึงประสงค์ เช่น อาเจียนใน 24อ ชม. แรก ถึงอาการเจ็บคอ ปวดหู
แนะนำให้ทานของเย็น เพื่อช่วยลดอาการบวม รวมถึงบรรเทาปวดได้
แพทย์จะพิจารณาตัดต่อมทอนซิล
เมื่อต่อมทอนซิลโตมาก ๆ ทำให้เกิดอุดกั้นทางเดินหายใจ
ผู้ป่วยที่มีต่อมทอนซิลโต และแพทย์สงสัยว่าอาจเป็นมะเร็งของต่อมทอนซิลโดยตรง
เป็นภาวะต่อมทอนซิลอักเสบเรื้อรังที่รักษาด้วยยาไม่ได้ผล หรือเกิดการอักเสบปีละหลายครั้งหลายปีติดต่อกัน ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่แย่ลง