Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างหนังสือสำหรับเด็ก - Coggle Diagram
การสร้างหนังสือสำหรับเด็ก
วืธีการสร้างหนังสือสำหรับเด็กในปัจจุบัน
2.หนังสือการ์ตูน
2.3 การ์ตูนหนูเล็กลุงโกร่ง
2.4 การ์ตูนชุดสามเกลอ
2.2 หนังสือชัยพฤษ์ตู๊นตูน
2.5 ขายหัวเราะ
2.1 การ์ตูนยี่เกเรื่องหลวิชัย-คาวี ของ ประยูร จรรยาวงษ์
2.6 หนูจ๋า
2.7 เบบี้
2.8 ตุ๊กตา
2.9 ชุดการ์ตูน ของ วอลท์ ดิสนีย์
หนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านต่างๆ
3.1 หนังสือชุดสวนสัตว์อนุชน
3.2 80 วน รอบโลก เล่ม 1-2
3.3 71 จังหวัด
3.4 ตะเพียนเข้ากรุง ของไพโรจน์ อิโรวงศ์
3.5 ป่าแสนสวย ของ กรมวิชาการ
3.6 แม่โพสพ ของ ม.ล.เติบ ชุมมสาย
3.7 ฟันของเรา ของ กรมวิชาการ
3.8 หนังสือชุดความรู้ไทย ของ คุรุสภา
3.9 นิทานสัตว์รอบโลก
3.10 จากลูกคิดสู่คอมพิวเตอร์
1.หนังสือสำหรับเด็กที่เน้นด้านเนื้อหา
1.3 โลกของหนูแหวน ของ ศราวภ
1.4 เรื่องของม่าเหมี่ยว ของสุมาลี
1.2 ฉันคือต้นไม้ ของไมตรี ลิมปิชาติ
1.5 นกกางเขน ของ หลางกีรติ วิทโยฬาร
1.1 จันทร์เจ้าขา ของสำนักพิมพ์ประชาช่าง
1.6 หนูนิดผู้น่ารัก ของ กรมวิชาการ
1.7 หนูนุ่นเที่ยวทะเล ของ อรชุมา ยุทธวงศ์
สร้างโดยการรับตรงจากต่างประเทศ
รับทั้งเรื่องและรูปภาพมา เช่น หนังสือชุดภาพสัตว์ของคุรุสภา หมีใจบุญ ห่านน้อย
รับมาเฉพาะเค้าโครงเรื่อง เช่น ณ ชายหาดสะอาดทราย สโมสรวานร
รับโดยตรงทั้งภาษา และภาพประกอบ
หนังสือชุดบ้านเล็กเล็กในป่าใหญ่ ของสุคนธรส
เหตุเกิดในกองคาราวาน ของ ปิยตา วนนันท์
ซิเตอเรลลากับเจ้าชาย
สัตว์เลี้ยงแสนดี ของ ไทยวัฒนาพานิช
แจ๊คผูู้ฆ่ายักษ์
นกสีน้ำเงิน นกแห่งความสุข ของ ไทยวัฒนาพานิช
ลูกหมูแสนฉลาด
หมีน้อยสีน้ำตาล
สร้างภาพและเรื่องเป็นของไทยโดยตรง 2.1 บทกล่อมเด็ก บทปลอดเด็กและบทเด็กเล่น 2.2 นิทานต่างๆ เช่น นิทานพื้นบ้าน นิทานชาดก เช่น เรื่องปลาบู่ทอง 2.3วรรณกรรมเก่าๆ เช่น รามเกียรติ์ เงาะป่า ขุนช้างขุนแผน อิเหนา 2.4 วัฒนธรรม ประเพณี เช่น สงกรานต์ พิธีแต่งงาน 2.5 ความรู้เกี่ยวกับเมืองไทย เช่น ป่าไม้ไทย ดอกไม้ไทย นกตามสวน
หลักเกณฑ์ในการสร้างหนังสือสำหรับเด็ก
1.นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก1.1ความละเอียดลออ 1.2เข้าใจธรรมชาติของเด็ก 1.3สามารถจดจำเหตุการณ์หรือความรู้สึกนึกคิด 1.4 เล่านิทานเป็น 1.5มองดูโลกที่บรรเจิดสุดสวยของเด็ก 1.6มีความขมักเขม้นในการทำงาน 1.7มีระเบียบแบบแผนในการทำงาน 1.8เข้าใจลักษณะของหนังสือและมีความรู้เกี่ยวกับหนังสือสำหรับเด็ก 2.เนื้อเรื่องในหนังสือสำหรับเด็ก ทุกเรื่องต้องมีเนื้อหาสาระ ความคิด ก่อนจะลงมือเขียนจะต้องอ่านเรื่องดีๆเพื่อศึกษาวาหนังสือดีๆเหล่านี้มีลักษณะอย่างไร
เนื้อเรื่องในหนังสือสำหรับเด็ก2.1มีเค้าโครงเรื่องน่าสนใจ 2.2เนื้อเรื่องมีสาระ เด็กได้รับประโยชน์ 2.3ดึงดูดความสนใจ สร้างความรู้สึกทางอารมณ์ 2.4เรื่องสนุกสนาน เพลิดเพลิน 2.5ส่งเสริมความนึกคิด สติปัญญา เกิดจินตนาการ
3.ขนาดความยาวเด็กๆไม่มีความอดทนที่จะทำอะไรนานๆคำแรกอย่ายืดยาดเยิ่นเย้อ
4.ตัวละคร สิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับหนังสือเด็กคือ ตัวละครเพราะจะทำให้หนังสือเป็นเรื่องราว ให้มีลักษณะที่เด็กชอบ คือ 4.1มีชีวิตชีวาสมจริง สมวัยเหมือนคนจริงๆ 4.2ชื่อตัวหนังสือสอดคล้องสมจริงกับสถานที่ เช่น ชื่อคำตา หนูจัน 4.3อายุ สมัย ตัวละครต้องไปด้วยกัน 4.4ตัวละครมีบุคลิกภาพเฉพาะตัวที่เด่น เช่น ผู้ชายต้องกล้าหาญ 4.5เรื่องตัวละครเป็นสัตว์พูดได้
5.ชื่อเรื่องเป็นเรื่องที่พถีพิถันเพราะเป็นด่านแรกที่เด็กจะหยิบหนังสือขึ้นมาอ่าน ควรมีลักษณะดังนี้ 5.1ชื่อเรื่องที่บอกให้รู้ว่า เรื่องนั้นเป็นอย่างไร เช่น สีนิลผจญภัย ลูกแมวน่ารัก 5.2คำที่น่าสนใจสำหรับตั้งชื่อเรื่องสำหรับเด็ก เช่น คำว่าวิเศษ มหัศจรรย์ ยักษ์ใหญ่ จอมแก่น
6.การใช้ภาษา เด็กเล็กๆส่วนมากยังไม่มีความสันทัดจัดเจนในการอ่าน สะกดคำ เช่น เรามีพ่อ เรามีแม่ เรามีพ่อแม่
8.ภาพ เป็นสิ่งสำคัญในการจูงใจให้เกิดการรับรู้ เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ดังนี้ 8.1ภาพเป็นที่ชัดเจน 8.2มีความหมายเข้าใจง่าย 8.3แสดงเน้นถึงความหมายของถ้อยคำ 8.4เป็นภาพที่ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 8.5ภาพนั้นต้องให้รายละเอียด อย่างเพียงพอ
7.ตัวอักษรหรือตัวหนังสือเป็นส่วนสำคัญของหนังสือสำหรับเด็กเพราะมีผลต่อสัมผัสทางตา ความพอใจ ดังนี้ 7.1 ขนาด ขนาดที่ใช้โตในเด็กเล็กๆการรับรู้ทางสายตาของเด็ก 7.2สีของอักษร หนังสือส่วนมากมักพิมพ์อักษรลงบนพื้นสีขาว การตัดกันของตัวอักษรกับสีของพื้น
ขั้นตอนในการลงมือสร้างหนังสือสำหรับเด็ก
5.ตั้งชื่อเรื่องและวางโครงเรื่อง โดยกำหนดโครงเรื่องเป็นข้อใหญ่ โยเป็นร้อยแก้ว
6.เรียบเรียงเรื่องที่จะเขียนตามโครงเรื่องที่วางไว้
4.ตั้งจุดมุ่งหมายว่าจะเขียนหนังสือประเภทใด แนวใด สำหรับเด็กระดับใด ขนาดความยาว ของเรื่องประมาณกี่หน้า รูปเล่มเป็นอย่างไร ที่สำคัญคือ แนวคิดที่จะให้แก่ผู้อ่าน
7.การจัดหน้า หรือ ทำดัมมี่โดยนำเนื้อเรื่องที่เรียบเรียง แล้วมาแบ่งเป็นตอนๆ ตอนละหน้า
3.ศึกษาหนังสือสำหรับเด็กที่พิมพ์ออกจำหน่าย เช่น
3.1องค์กรต่างๆ ได้แก่
3.1.1สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย
3.1.3 คณะกรรมการพัฒนาการหนังสือแห่งชาติ
3.1.4 องค์การศึกษาทางวิทยาศาสตร์
3.1.5 สมาคมผู้จัดพิมพ์ และผู้จัดจำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย
3.1.6 สามาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย
3.1.7 สามาคมสตรีอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย
3.1.8 คณะอนุกรรมการจัดทำหนังสือสำหรับผู้เริ่มอ่าน
3.2 หน่วยงานต่างๆ ของรัฐ
3.2.1 โครงการพัฒนาการศึกษา
3.2.2 ศูนย์เทคโนโลยี
3.2.3 คณะอนุกรรมการหาทุนโครงการสร้างสวนสมเด็จฯ
3.2.4 กรมวิชาการ
3.2.5 ศูนย์พัฒนาหนังสือ
*3.3 สำนักพิมพ์ของเอกชน และรัฐวิสาหกิจ
3.3.1 สำนักพิมพ์แพร่พิทยา
3.3.2 สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์
3.3.3. สำนักพิมพ์สตรีสาร
3.3.4 สำนักพิมพ์ปาณยา
3.3.5 สำนักพิมพ์พี.พี
3.3.6 สำนักพิมพ์สุริบรรณ
3.3.7 สำนักพิมพ์บรรณกิจ
3.3.8 สำนักพิมพ์ดวงกมล
3.3.9 สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช
3.3.10 สำนักพิมพ์คุรุสภา
3.3.11 ศูนย์หนังสือเชียงใหม่
3.3.12 ห้างหุ้นส่วนจำกัดอักษรบัณฑิต
3.1.2คณะกรรมการพัฒนาการหนังสือแห่งชาติ
8.ทำรูปเล่มลำลองที่สมบูรณ์
8.1 ปก
8.2 ใบรองปก
8.3 ปกใน
8.4 เนื้อเรื่องเรียงลำดับ
8.5 อภิธานศัพท์ หรือ อภิบายศัพท์ (ถ้ามี)
8.6 กิจกรรม แบบฝึกหัด (ถ้ามี)
8.7 ดรรชนีค้นคำ (ถ้ามี)
8.8 ใบรองปกหลัง (ถ้ามี)
8.9 ปกหลัง
2.ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ หลักการ ทฤษฎีในการสร้างหนังสือสำหรับเด็ก
ออกแบบหนังสือ และภาพประกอบที่สมบูรณ์ว่าจะใช้หนังสือแบบใด ขนาดใดบ้าง
1.เกิดแรงบันดาลใจ เกิดความคิด
นำต้นแบบที่สมบูรณ์เรียบเรียงเข้าโรงพิมพ์