Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์ของระบบเฝ้าระวัง หน่วยที่ 2 - Coggle Diagram
สถานการณ์ของระบบเฝ้าระวัง
หน่วยที่ 2
สถานการณ์ของระบบเฝ้าระวัง
National Health
Authority
Provider
Purchaser
Regulator
Structure
ระบบบริการสุขภาพ (Health Service)
ระบบส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion)
ระบบควบคุมและป้องกันโรค (Disease Prevention &
Control)
ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (Health Consumer
Protection)
Functions
การกeหนดนโยบายยุทธศาสตร์กลางของประเทศบนข้อมูล
และฐานความรู้
การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
การประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
การกำหนดรับรองมาตรฐานบริการต่างๆ
การพัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ และการตอบโต้
ภาวะฉุกเฉิน
การพัฒนากลไกด้านกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือพัฒนาและ
ดูแลสุขภาพประชาชน
การพัฒนางานสุขภาพโลกและความร่วมมือระหว่างประเทศ
การกำกับดูแล ติดตามและประเมินผลของ ภาครัฐ ท้องถิ่นและเอกชน
การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพของประเทศ
การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียวมีคุณภาพใช้งานได้
การกำหนดนโยบายและจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
การพัฒนาเขตบริการสุขภาพ
ระบบเฝ้าระวังที่มีอยู่จริงก่อนหน้านี้
เป็นการดำเนินงานเฝ้าระวังที่ซ้ำซ้อน
กระจัดกระจายตามหน่วยงานต่างๆ
ไม่มีความเป็นอกภาพทั้งเชิงนโยบายและการบริหารจัดการ
ส่วนใหญ่เป็นการใช้ในเชิงสถิติมากกว่าการใช้เพื่อตรวจจับ
ความผิดปกติ มากกว่าที่จะนำไปกำหนดนโยบาย
การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข (National Public Health Surveillance)
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ระบบการเฝ้าระวังโรคติดต่อ
ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ
ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ
ระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
การเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพ
การเฝ้าระวังด้านอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การเฝ้าระวังการบริการสุขภาพ
องค์ประกอบของการเฝ้าระวัง 5 มิติ
1.ปัจจัยต้นเหตุ
2.พฤติกรรมเสี่ยง
3.การตอบสนองของแผนงานควบคุมโรค
4.การติดเชื้อ/การป่วย/การตาย/ความพิการ
5.เหตุการณ์ผิดปกติและการระบาด
สภาพปัญหาของระบบเฝ้าระวัง
ความครบถ้วน ถูกต้อง รวดเร็วของการรายงานโรคในข่าย
เฝ้าระวังจากสถานบริการทางสาธารณสุขตั้งแต่ระดับตำบล อำเภอจังหวัด จนถึงสำนักระบาดวิทยาในส่วนกลาง
ขาดการวิเคราะห์และนำมาใช้ทันเวลา ทั้งๆ ที่มีการรวบรวมข้อมูลมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรายงานโรคติดเชื้อต่างๆ
การกระจายผลเฝ้าระวังให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องค่อนข้าง ล่าช้าและไม่ชัดเจน
การเฝ้าระวังในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นบทบาทของ เจ้าหน้าที่
สาธารณสุข และ อสม. ชุมชนยังไม่เข้ามามีส่วนร่วมมากนัก
บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สำนักวิชาการในส่วนกลาง
ร่วมกันสร้างทีมงานเฝ้าระวัง
ศึกษาการดำเนินงานและผลการศึกษาวิจัย
บทบาทหน้าที่ของ สคร. และ สสจ.
จัดให้กลุ่มระบาดวิทยาร่วมกับกลุ่มวิชาการอื่นๆ ทำการจัดระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพเพื่อจะได้ประสานให้เกิดการเฝ้าระวังที่ระดับจังหวัด
ทำให้จังหวัดมีศักยภาพในการรวบรวม จัดหาวิเคราะห์ และใช้ประโยชน์เพื่อการควบคุมป้องกันโรคของแต่ละพื้นที่ของแต่ละจังหวัด
เป้าหมายการดำเนินงาน
มีความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบงานของการเฝ้าระวัง และข้อมูลที่สำคัญ
จัดทำคู่มือแนวทางและสร้างเอกภาพในการทำงาน
มีการพัฒนาบุคลากร จัดระบบงานเพื่อให้เกิดการเฝ้าระวัง และ
ฐานข้อมูลของระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5ระบบ ตั้งแต่
ส่วนกลางไปจนถึงจังหวัดและอำเภอ
มีการใช้ประโยชน์ของข้อมูลในการตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติ
ปรับปรุงนโยบาย มาตรการต่างๆ ในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในทุกระดับ