Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้การออกแบบการสอน - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้การออกแบบการสอน
ปัญญานิยม (Cognitive Theory)
ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ในด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ความสนใจและความถนัดในแต่ละคน
ขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการรู้คิด
ความใส่ใจ (Attending)
การรับรู้ (Perception)
การจำได้ (Remembering)
การคิดอย่างมีเหตุผล (Reasoning)
จินตนาการหรือการวาดภาพในใจ (Imagining)
การคาดการณ์ล่วงหน้าหรือการมีแผนการณ์รองรับ (Anticipating)
การตัดสินใจ (Decision)
การแก้ปัญหา (Probiem Soiving)
การจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ (Classifying)
การแปลความหมาย (Interpreting)
พฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theory)
กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ที่ว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมภายนอกหรือกลุ่มพฤติกรรมนิยม
แนวคิดที่สำคัญของกลุ่มนี้
กลุ่มพฤติกรรมนิยมศึกษาเนื้อหา
มุ่งศึกษาเฉพาะพฤติกรรมที่สังเกตได้หรือสามารถวัดได้
มุ่งศึกษาเกี่ยวกับกลไกทางสรีรวิทยา
ยอมรับเฉพาะระเบียบวินัยวิธีปรนัย
มุ่งศึกษาพฤติกรรมโดยเฉพาะ
ยอมรับเฉพาะข้อมูลที่ได้จากระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น
คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory)
ความรู้ของบุคคลใด
ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีการที่ต่างๆ กัน
สถานการณ์ที่เป็นปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา
ความขัดแย้งทางปัญญาเป็นแรงจูงใจภายในให้เกิดกิจกรรมการไตร่ตรองเพื่อขจัดความขัดแย้ง
การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิมภายใต้การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม กระตุ้นให้มีการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา
ข้อเสนอแนะ ที่อาจเกิดขึ้น
การสร้างการเรียนรู้
การเรียนรู้เป็นผลที่เกิดจากการแปลความหมายตามประสบการณ์ของแต่ละคน
การเรียนรู้เกิดจากการลงมือกระทำ
การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ
การเรียนรู้ที่เหมาะสม