Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วันที่ 8 ตุลาคม 2562
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 81 ปี ผมสั้นสีขาวแซมดำ…
วันที่ 8 ตุลาคม 2562
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 81 ปี ผมสั้นสีขาวแซมดำ รู้สึกตัวเมื่อเจ็บ E1MtV3 ไม่มีฟัน ไม่ได้ใส่ฟันปลอม ใส่สายยางเพื่อให้อาหารทางสายยาง สูตรอาหาร BD (1.5:1) 250 ml x 4 feeds น้ำตาม 30 ml/feed Total volume 1,200 Total cholesterol 1,500 มีเสมหะเหนียวข้น สีขาว ใส่ ET tube No.7.5 ลึก 21 ซม. On ventilator PS mode PS 10 cmH2O PEEP 7 cmH2O FiO2 0.3 ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation ข้างขวามากกว่าข้างซ้าย On injection plug ที่มือทั้ง 2 ข้าง มีแผลที่ข้อมือด้านขวา มีลักษณะบวมแดง และมีแผลที่ก้นลักษณะขอบแผลแดง ข้างในมี Slough สีขาว stage 3 มีอาการบวมกดบุ๋มที่มือและเท้า ระดับ 2+ On foley's catheter ปัสสาวะสีเข้ม ไม่มีตะกอน 700 ml อุจจาระสีเขียว 1 ครั้ง มี Foot drop ที่ข้อเท้าซ้าย
Vital signs (08 ตุลาคม 2562)
Temp 36.9 องศาเซลเซียส
Pulse 76 ครั้ง/นาที
BP 110/60 มิลลิเมตรปรอท
Oxygen saturation 95 %
-
Past History
-
25/01/2553
ผู้ป่วยหกล้ม เกิดกระดูกสันหลังยุบ แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น Osteoporosis compression FX T11 L1 ได้รับการรักษาแบบ Supportive และตรวจพบว่าเป็น pneumonia chest x-ray พบ ปอดซ้าย infiltration รักษาด้วยการได้รับปฏิชีวนะ Tazocin และพบว่ามีโรคประจำตัวอยู่แล้วคือ Hypertension DM โรคหูแว่วทางจิตเวช รักษาด้วยการรับประทานยา มาตามนัดทุกครั้ง
Present Illness
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล ไม่ทานอาหาร ไอมากขึ้น มีเสมหะก้อนใหญ่สีแดงเข้ม มีน้ำมูล มีไข้ ท้องเสียถ่ายออกมาเป็นน้ำ ไม่มีเลือดปน ปัสสาวะไม่ออก หายใจเหนื่อยเล็กน้อย
วันที่ 9 ตุลาคม 2562
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 81 ปี ผมสั้นสีขาวแซมดำ รู้สึกตัวเมื่อเจ็บ E1MtV3 ไม่มีฟัน ไม่ได้ใส่ฟันปลอม ใส่สายยางเพื่อให้อาหารทางสายยาง สูตรอาหาร BD (1.5:1) 250 ml x 4 feeds น้ำตาม 30 ml/feed Total volume 1,200 Total cholesterol 1,500 มีเสมหะเหนียวข้น สีขาว ใส่ ET tube No.7.5 ลึก 21 ซม. On ventilator PS mode PS 10 cmH2O PEEP 7 cmH2O FiO2 0.3 แพทย์ลอง Try wean พบหลัง Try wean ผู้ป่วยมีการหายใจปกติดี ไม่มีหอบเหนื่อย ฟังปอดไม่พบเสียง Crepitation On injection plug ที่มือทั้งสองข้าง มีแผลที่ข้อมือด้านขวา มีลักษณะขอบแผลแดง มีเลือดซึมเล็กน้อย และมีแผลที่ก้นลักษณะขอบแผลแดง ข้างในมี Slough สีขาว stage 3 มีอาการบวมกดบุ๋มที่มือและเท้า ระดับ 2+ On foley's catheter ปัสสาวะสีเข้ม มีลิ่มเลือดตามสาย มี Foot drop ที่ข้อเท้าซ้าย
วันที่ 10 ตุลาคม 2562
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 81 ปี ผมสั้นสีขาวแซมดำ รู้สึกตัวมากขึ้น ไม่มีฟัน ไม่ได้ใส่ฟันปลอม ใส่สายยางเพื่อให้อาหารทางสายยาง สูตรอาหาร BD (1.5:1) 250 ml x 4 feeds น้ำตาม 30 ml/feed Total volume 1,200 Total cholesterol 1,500 มีเสมหะสีเหลืองอ่อน ไม่เหนียว แพทย์ได้ทำการ Off tube หลัง off tube ผู้ป่วยใส่ Oxygen mask with bag 6 LPM ผู้ป่วยมีการหายใจปกติดี ไม่มีหอบเหนื่อย ต่อมาได้รับ Oxygen cannula 3 LPM ฟังปอดไม่พบเสียง Crepitation On injection plug ที่มือขวาและที่ ขาด้านซ้าย มีแผลที่ข้อมือด้านขวา มีลักษณะขอบแผลแดง มีเลือดซึมเล็กน้อย และมีแผลที่ก้นลักษณะขอบแผลแดง ข้างในมี Slough สีขาวลดลง stage 3 มีอาการบวมกดบุ๋มที่มือและเท้า ระดับ 1+ On foley's catheter ปัสสาวะสีเข้ม มีลิ่มเลือดตามสาย ยังไม่อุจจาระ มี Foot drop ที่ข้อเท้าซ้าย
วันที่ 11 ตุลาคม 2562
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 81 ปี ผมสั้นสีขาวแซมดำ รู้สึกตัวมากขึ้น ไม่มีฟัน ไม่ได้ใส่ฟันปลอม ใส่สายยางเพื่อให้อาหารทางสายยาง สูตรอาหาร BD (1.5:1) 250 ml x 4 feeds น้ำตาม 30 ml/feed Total volume 1,200 Total cholesterol 1,500 มีเสมหะสีเหลืองอ่อน ไม่เหนียว หายใจ Room air ฟังปอดไม่พบเสียง Crepitation On injection plug ที่ขาด้านขวา มีแผลที่ข้อมือด้านขวา มีลักษณะขอบแผลแดง มีเลือดซึมเล็กน้อย และมีแผลที่ก้นลักษณะขอบแผลแดง ข้างในมี Slough สีขาวเล็กน้อย stage 3 มีอาการบวมกดบุ๋มที่มือและเท้า ระดับ 1+ On foley's catheter ปัสสาวะสีเข้ม มีลิ่มเลือดตามสายเล็กน้อย ยังไม่อุจจาระ มี Foot drop ที่ข้อเท้าซ้าย
วันที่ 16 ตุลาคม 2562
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 81 ปี ผมสั้นสีขาวแซมดำ รู้สึกตัวมากขึ้น ไม่มีฟัน ไม่ได้ใส่ฟันปลอม ใส่สายยางเพื่อให้อาหารทางสายยาง สูตรอาหาร BD (1.5:1) 250 ml x 4 feeds น้ำตาม 30 ml/feed Total volume 1,200 Total cholesterol 1,500 หายใจ Room air ฟังปอดไม่พบเสียง Crepitation มีแผลที่ข้อมือด้านขวาและที่ก้น มือและเท้าไม่มีอาการบวมแล้ว On foley's catheter ปัสสาวะสีเหลืองใส ไม่มีตะกอน มี Foot drop ที่ข้อเท้าซ้าย
-
-
พยาธิสภาพ
Pneumonia
การรักษา
เปรียบเทียบกับผู้ป่วย
ผู้ป่วยมีการติดเชื้อแบคทีเรีย จากผล Sputum gram stain เมื่อวันที่ 24/09/62 จึงได้รับยาปฎิชีวนะ ได้แก่
-
-
-
ผู้ป่วยได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ ใส่ ET tube No.7.5 ลึก 21 ซม. On ventilator PS mode PS 10 cmH2O PEEP 7 cmH2O FiO2 0.3
ผู้ป่วยมีเสมหะเหนียวข้น สีขาว จึงได้รับการ Suction ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง และมีการให้ยาขยายหลอดลม และ NSS เพื่อให้เสมหะอ่อนตัวลง
-
-
ทฤษฎี
-
-
การรักษาภาวะแทรกซ้อน
เป็นกรณีที่พบได้ในกลุ่มเสี่ยง โดยภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย ได้แก่ เชื้อแบคทีเรียแพร่กระจายจากปอดเข้าสู่กระแสเลือดส่งผลให้อวัยวะอื่นๆ ติดเชื้อตามไปด้วย บางรายอาจพบฝีในปอด หรือเกิดภาวะมีน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอดที่จำเป็นต้องเจาะหรือดูดออก ในรายที่อาการรุนแรงมาก ผู้ป่วยอาจเกิดภาวะหายใจล้มเหลวซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิตและจำเป็นต้องใส่ท่อเข้าหลอดลมร่วมกับเครื่องช่วยหายใจ
-
-
-
สาเหตุ
ทฤษฎี
-
เกิดมาจากการติดเชื้อ เช่น เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส (ไข้หวัดใหญ่ หัด และอีสุกอีใส) เชื้อรา และสารเคมี ฯลฯ
-
-
เปรียบเทียบกับผู้ป่วย
จากการศึกษาข้อมูลพบว่า ผู้ดูแลผู้ป่วย ป่วยด้วยอาการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ อาจคาดการณ์ได้ว่าผู้ป่วยมีภูมิต้านทานโรคที่ไม่แข็งแรงมากนัก จึงทำให้อาจติดเชื้อมาจากผู้ดูแลได้ และผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้จึงอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่สามารถทำให้สำลักเศษอาหารและน้ำลายได้
-
Problem lists
วันที่ 09/10/62
-
-
-
-
- ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
- ผลตรวจโลหิตวิทยา วันที่ 08/10/62
Hb 8.3 ต่ำ
Hct 25.1 ต่ำ
RBC 3.06 ต่ำ
- ผลตรวจเคมีคลินิก วันที่ 08/10/62
Na 130 ต่ำ
K 3.34 ต่ำ
Cl 89.5 ต่ำ
- ผลตรวจเคมีคลินิก วันที่ 07/10/62
BUN 36.1 สูง
Cr 1.87 สูง
eGFR 24.85
- ผลตรวจจุลทรรศาสตร์คลินิก วันที่ 04/10/62
WBC > 100/HPE
- ผลตรวจจุลชีววิทยา Urine (retain cath) พบเชื้อ 10^5 CFU/mL candida albican
วันที่ 10/10/62
- มีแผลที่ข้อมือข้างขวา ขอบแผลสีแดง มีเลือดซึมเล็กน้อย ขนาดประมาณ 4*4 ซม.
- มีแผลที่ก้นกบ ขอบแผลแผลแดง ข้างในมี Slough สีขาว stage 3 ขนาดประมาณ 5*6 ซม.
-
- ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
- ผลตรวจโลหิตวิทยา วันที่ 09/10/62
Hb 8.6 ต่ำ
Hct 25.5 ต่ำ
RBC 3.14 ต่ำ
WBC 11.67 สูง
Neutrophil 74.8 สูง
Lymphocyte 16.9 ต่ำ
- ผลตรวจเคมีคลินิก วันที่ 09/10/62
Na 131 ต่ำ
K 3.15 ต่ำ
Cl 89.9 ต่ำ
Ca 7.6 ต่ำ
- ผลตรวจเคมีคลินิก วันที่ 09/10/62
BUN 35.9 สูง
Cr 1.66 สูง
eGFR 28.7 ต่ำ
Albumin 2.1 ต่ำ
- ปัสสาวะมีเยื่อเลือดตามสาย
วันที่ 16/10/62
-
-
- ผลการตรวจเคมีคลินิก วันที่ 14/10/62
BUN 42.1 ภาวะไตเสื่อมสภาพ
Cr 1.21 ภาวะไตเสื่อมสภาพ
eGFR 42.06 ภาวะไตทำงานผิดปกติ
Na 135 Hyponatremia
K 2.80 Hypokalemia
Cl 92.5 Hyppocalemia
- ผลการตรวจโลหิตวิทยา วันที่ 14/10/62
Hb 8.8 เสี่ยงเกิดภาวะซีด
Hct 26.6 เสี่ยงเกิดภาวะซีด
WBC 20.04 เสี่ยงเกิดภาวะติดเชื้อ
Nuetrophil 79.1 เสี่ยงเกิดการติดเชื้อ
Lymphocyte 12.3 เสี่ยงเกิดการติดเชื้อ
- ผลการตรวจเคมีคลินิก วันที่ 14/10/62
pH 7.494 Metabolic acidosis
pCO2 26.5 Metabolic acidosis
HCO3 20.2 Metabolic acidosis
- ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
-
การตรวจร่างกาย
-
-
-
-
ฟังเสียงปอด ได้ยินเสียง Fine หรือ medium crepitation , Rhonchi หรือ Wheezing
การวินิจฉัยโรค
-
-
เปรียบเทียบกับผู้ป่วย
-
-
-
- 2 วันก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยไม่รับประทานอาหาร
- มีอาการท้องเสีย ถ่ายออกเป็นน้ำ
- ฟังเสียงปอดได้ Crepitation RT > LT ร่วมกับ Retraction และaccessory muscle use
-
-
-
-
-
การซักประวัติ
-
สอบถามอาการ โดยเฉพาะอาการไอแบบมีเสมหะ มีไข้เฉียบพลัน และหายใจหอบในกรณีที่สงสัยว่าเกิดจากการติดเชื้อ ร่วมกับการตรวจร่างกาย ท้องเดิน เบื่ออาหาร
-
-