Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย (ยาที่ใช้ในการรักษา (Folic acid 1x1 opc …
ผู้ป่วยหญิงไทย
ลักษณะอาการทั่วไป
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 87 ปี ผิวขาวเหลือง ไม่สามารถลืมตาได้ ไม่สามารถพูดได้ ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ หายใจ On ventilator PS mode PS 10 FiO2 0.3 PEEP 5 รับประทานอาหารผ่านทางสายให้อาหารทางจมูก สูตรอาหาร BD (1.5:1) 200 ml x 4 feeds ผู้ป่วย On NSS lock ที่เท้าด้านซ้าย ผู้ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะ ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม ใส ไม่มีตะกอน แขนขาบวม กดบุ๋มระดับ 3 มีข้อติดแข็งที่แขนและขา มีแผลกดทับ 7 ตำแหน่ง ได้แก่ แนวกระดูกสันหลัง ขนาด 4x3 cm Stage 2 กระดูกก้นกบ ขนาด 6x7x2 cm Stage 4 สะโพกขวา 8x9x1 cm Stage 4 สะโพกซ้าย 3x3.5x0.5 cm Stage 3 เข่าขวา 5x4 cm Stage 3 ตาตุ่มขวา 1.5x1.5 cm Stage 3 นิ้วหัวแม่เท้าซ้าย 2x1.5 cm Unstageable
ข้อวินิจฉัย
ข้อที่ 1. ป่วยมีแผลกดทับเนื่องจากการเคลื่อนไหวร่างกายไม่ได้ ข้อมูลสนับสนุน
- ผู้ป่วยมีแผลกดทับที่ส้นเท้า สะโพก หลัง
- braden score 8 คะแนน
วัตถุประสงค์ ไม่เกิดแผลกดทับเพิ่มขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
- ผิวหนังไม่มีลักษณะเป็นรอยแดง รอยถลอก
- ผิวหนังไม่มีลักษณะของแผลเนื้อตาย
- braden score >9 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินภาวะการเกิดแผลกดทับดังนี้ ประเมินอายุ น้ำหนักตัวของผู้ป่วย ลักษณะบวมตามร่างกายเพราะในผู้ป่วยที่สูงอายุ ความแข็งแรงของผิวหนังลดลง
- ประเมินแผลกดทับ ตำแหน่ง ขนาด ความลึก ขอบแผล สิ่งที่ออกมาจากแผล
3.ดูแลแผลกดทับโดยการทำความสะอาดตามหลัก Aseptic technique และให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล
4.ดูแลรักษาความสะอาดของผิวหนังไม่ให้เปียกชื้น หรือแห้งเกินไป กรณีที่ถ่ายอุจจาระปัสสาวะเปรอะเปื้อนให้ทำความสะอาดทุกครั้ง เพราะถ้าปล่อยไว้นาน กรดด่างจากอุจจาระ ปัสสสาวะ ทำให้เกิดความระคายเคืองต่อผิวหนัง
5.พลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง ใช้หมอนรองตามปุ่มกระดูก เพื่อลดแรงกดบริเวณปุ่มกระดูกที่กดทับ
ุ6.ดูแลจัดผ้าปูที่นอนให้เรียบเพื่อไม่ให้เกิดแรงกดทับกับผู้ป่วย
7.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ และสารอาหารอย่างเพียงพอ เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่ผิวหนัง และซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่ถูกทำลายไป
-
-
-
-
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
- ผู้ป่วยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ ตั้งแต่ปี 2530
- ผู้ป่วยมีประวัติป่วยเป็นโรคกระดูกทับเส้น ทำให้ไม่สามารถเดินได้
- ผูัป่วยมีประวัติเป็นโรคเบาหวานมาประมาณ 10 ปี (ปี 2552) ไม่ได้รับการรรักษา
- ผู้ป่วยมีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูงมาประมาณ 10 ปี (ปี2552) รักษาด้วยการรับประทานยา และมาติดตามอาการที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
พยาธิสภาพ
Septic shock
ความรุนแรง
- Systemic inflammatory response syndrome (SIRS) ตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป
- อุณหภูมิร่างกาย > 38°C หรือ < 36°
- อัตราการเต้นของหัวใจ > 90 ครั้งต่อนาที
- อัตราการหายใจ > 20 ครั้งต่อนาที หรือ PaCO2 < 32 มม.ปรอท
- เม็ดเลือดขาว > 12,000 หรือ < 4,000 เซลล์/ลบ.มม. หรือมี immature form > ร้อยละ 10
- Sepsis มีอาการหรือสงสัยว่ามีการติดเชื้อในร่างกายร่วมกับมีภาวะ SIRS
- Severe sepsis ภาวะ sepsis ที่มีอวัยวะท างานล้มเหวลอย่างน้อยหนึ่งอวัยวะขึ้นไป
- Septic shock ภาวะ sepsis ที่มีความดันโลหิตต่ำ (systolic blood pressure < 90 มม.ปรอท หรือลดลง
40 มม.ปรอทจากค่าพื้นฐาน)
-
การรักษา
1. การให้ยาปฏิชีวนะและควบคุมแหล่งการติดเชื้อ
โดยให้ยาปฏิชีวนะในรูปฉีดทางกระแสเลือด ควรให้ภายใน 1 ชม.ตั้งแต่วินิจฉัยภาวะ septic shock และควรเริ่มต้นด้วยการให้ในขนาดที่สูงส าหรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อรุนแรง และค่อยปรับตามผลการติดเชื้อภายใน 48-72 ชม.
2. การให้สารน้ำ
จุดมุ่งหมายของการให้สารน้ำในภาวะช็อกเพื่อเพิ่มให้ปริมาตรหลอดเลือดกลับมาเร็วที่สุด สารน้ำที่ควรให้คือ isotonic crystalloid solution ส าหรับประเภทของสารน้ านั้น มีความพยายามที่จะใช้colloid
ทดแทน cyrstalloid เนื่องจากสามารถคงปริมาตรในหลอดเลือดได้นานกว่า
-
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลตรวจทางเคมีคลินิก ( 7 ตุลาคม 2562 )
Potassium 3.05 ต่ำ แปลผล Hypokalemia
Calcium 7.2 mg/dl ต่ำ แปลผล Hypocalcemia
ผลตรวจโลหิตวิทยา ( 7 ตุลาคม 2562 )
HB 9.1 g/dl ต่ำ
Hct 28.4 % ต่ำ
RBC 3.65 x106/ul ต่ำ
MCV 77.6 fL ต่ำ
MCH 25.0 pg ต่ำ
RDW 19.4% ต่ำ
แปลผล มีภาวะซีด
Lymphocyte 85.4 %
Monocyte 9.4 %
Eosinophill 0.1 %
แปลผล มีภาวะติดเชื้อ
Platelet Count 97,000 ul ต่ำ
แปลผล มีภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก
ผลตรวจภูมิคุ้มกันวิทยา ( 4 ตุลาคม 2562 )
Troponin – T 0.085 ng/mL
แปลผล กล้ามเนื้อหัวใจอาจมีภาวะขาดเลือด
ผลตรวจจุลชีววิทยา ( 4 ตุลาคม 2562 )
Sputum : Gram stain
- พบ Gram Positive Cocci
- Gram Positive Bacilli (small)
-