Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 87 ปี ผิวขาวเหลือง ไม่สามารถลืมตาได้ ไม่สามารถพูดได้…
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 87 ปี ผิวขาวเหลือง ไม่สามารถลืมตาได้ ไม่สามารถพูดได้ หายใจ On ventilator PS mode PS 10 FiO2 0.3 PEEP 5 รับประทานอาหารผ่านทางสายให้อาหารทางจมูก สูตรอาหาร BD (1.5:1) 200 ml x 4 feeds ผู้ป่วย On NSS lock ที่เท้าด้านซ้าย ผู้ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะ ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม ใส ไม่มีตะกอน แขนขาบวม กดบุ๋มระดับ 3 มีข้อติดแข็งที่แขนและขา มีแผลกดทับ 7 ตำแหน่ง ได้แก่ แนวกระดูกสันหลัง ขนาด 4x3 cm Stage 2 กระดูกก้นกบ ขนาด 6x7x2 cm Stage 4 สะโพกขวา 8x9x1 cm Stage 4 สะโพกซ้าย 3x3.5x0.5 cm Stage 3 เข่าขวา 5x4 cm Stage 3 ตาตุ่มขวา 1.5x1.5 cm Stage 3 นิ้วหัวแม่เท้าซ้าย 2x1.5 cm Unstageable ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
Present illness
- 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล ตัวบวมขึ้นทั้งตัว เหนื่อย ไอ เสมหะสีขาว ปริมาณมากขึ้น เหนียวข้น สีไม่เปลี่ยน มีไข้ มีแผลกดทับที่หลัง ส้นเท้า สะโพกขวา
- 10 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล (3 ตุลาคม 2562) เหนื่อยมากขึ้น ไอ เสมหะไม่ออก
-
-
พยาธิสภาพของโรค
Septic shock
สาเหตุ
อาจมาด้วยอาการของการติดเชื้อ ซึ่งอาจเป็นการติดเชื้อเฉพาะที่หรือเป็นการติดเชื้อ แบบ systemic ก็ได้ ส่วนในรายที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือดซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิด cardiogenic shock นั้นก็จะมาด้วย angina pain และมีประวัติโรคประจำตัวที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิด coronary artery disease
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบเป็นส่วนมาก ซึ่งจะหลั่งสาารพิษชนิด Endotoxin ในกระแสเลือด และมีผลต่อระบบไหลเวียน
เกิดจากพิษของแบคทีเรียแกรมบวกเป็นส่วนน้อย เชื้อไวรัส เชื้อรา เชื้อริคเกตเซีย โดยเชื้อจะหลั่งสารพิษ Exotoxin
อาการและอาการแสดง
- Systemic inflammatory response syndrome (SIRS) ตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป
-
-
-
เม็ดเลือดขาว > 12,000 หรือ < 4,000 เซลล์/ลบ.มม. หรือมี immature form > ร้อยละ 10
- Sepsis มีอาการหรือสงสัยว่ามีการติดเชื้อในร่างกายร่วมกับมีภาวะ SIRS
- Severe sepsis ภาวะ sepsis ที่มีอวัยวะทำงานล้มเหลวอย่างน้อยหนึ่งอวัยวะขึ้นไป
- Septic shock ภาวะ sepsis ที่มีความดันโลหิตต่ำา (systolic blood pressure < 90 มม.ปรอท หรือลดลง > 40 มม.ปรอทจากค่าพื้นฐาน) โดยที่ได้รับการรักษาด้วยการให้สารน้ าอย่างเพียงพอแล้ว และไม่อธิบายจากสาเหตุอื่นๆ
-
การดูแลรักษา
- การให้ยาปฏิชีวนะและควบคุมแหล่งการติดเชื้อ โดยให้ยาปฏิชีวนะในรูปฉีดทางกระแสเลือด ควรให้ภายใน 1 ชม.ตั้งแต่วินิจฉัยภาวะ septic shock และควรเริ่มต้นด้วยการให้ในขนาดที่สูงสำหรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อรุนแรง และค่อยปรับตามผลการติดเชื้อภายใน 48-72 ชม.
- การให้สำรน้ำ จุดมุ่งหมายของการให้สารน้ำในภาวะช็อกเพื่อเพิ่มให้ปริมาตรหลอดเลือดกลับมาเร็วที่สุด สารน้ำที่
ควรให้คือ isotonic crystalloid solution สำหรับประเภทของสารน้ านั้น มีความพยายามที่จะใช้colloid ทดแทน cyrstalloid เนื่องจากสามารถคงปริมาตรในหลอดเลือดได้นานกว่า
- การให้ยำกระตุ้นความดันโลหิต ในกรณีที่ตรวจพบว่าปริมาณสารน้ าในหลอดเลือดของผู้ป่วยเพียงพอแล้ว แต่ผู้ป่วยยังอยู่ในภาวะช็อก ควรเริ่มให้ยากระตุ้นหัวใจ แนะน าให้ใช้ dopamine เป็นยาเริ่มต้น เนื่องจากในขนาดต่างๆ (1-5 มคก./กก.) จะออกฤทธิ์ ซึ่งในขนาดที่สูงนี้ยาจะมีฤทธิ์หดหลอดเลือด ในขนาดที่สูงกว่านี้มักจะอันตรายเนื่องจากทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ การใช้ dopamineในขนาดต่างๆ เพื่อหวังผลเพิ่ม renal blood flow ในปัจจุบันไม่แนะนำ เนื่อง จากไม่ได้ทำให้มี renal perfusion มากขึ้น หรือป้องกันภาวะไตวาย การใช้ norepinephrine ร่วมหรือไม่ร่วมกับ dobutamine มีหลักฐานว่าอาจจะดีกว่า dopamine เนื่องจาก norepinephrine ท าให้ความดันเลือดขึ้นได้เร็วและดีกว่า ทำให้ splanchnic perfusion เพิ่มขึ้นได้ และยังเกิดปัญหา tachycardia น้อยกว่า dopamine สำหรับ dobutamine ใช้ในผู้ป่วยที่มี cardiac index ต่างหรือมีหลักฐานว่ายังมี hypoperfusion หลังจากที่ความดันโลหิตเหมาะสมแล้ว
- การเฝ้าระวังทำงความดันโลหิต ผู้ป่วย septic shock ควรได้รับการติดตามเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง ในแง่ของความดันโลหิต ความอิ่มตัวของออกซิเจน คลื่นไฟฟ้าหัวใจ และปริมาณปัสสาวะในหอผู้ป่วยอภิบาล
- การรักษาประคับประคองอื่นๆ
5.2 intensive insulin therapy ระดับน้ำตาลในเลือดสูงสัมพันธ์กับอัตราตายและพิการในผู้ป่วยวิกฤต การควบคุม ระดับน้ำตาลจึงอาจทำให้ ผลการรักษา sepsis ดี ระดับน้ำตาลที่เหมาะสมในทางปฏิบัติแนะนำให้คุมระดับน้ำตาลให้ต่ำกว่า 180 มก./ดล.
5.3 การใช้ low dose ของ corticosteroid จากการศึกษา CORTICUS trial พบว่าได้ประโยชน์เฉพาะในผู้ป่วยที่เป็น adrenal insufficiency อยู่เดิม หรือ ที่สงสัยว่ามีภาวะ adrenal insufficiency
5.4 Pulmonary support ผู้ป่วยเกือบทุกรายจะมีปอดบาดเจ็บเฉียบพลัน หรือ acute respiratory distress syndrome (ARDS) จากกลไกของ septic shock ผู้ป่วย severe sepsis หรือ septic shock ร้อยละ 80 จึงต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ แนะนำให้ใช้ low tidal volume 6 มล./กก.ของน้ำหนักตามความสูง ปรับระดับ PEEP ให้เหมาะสม และรักษาระดับความดันถุงลม (Pplat) ให้น้อยกว่า 30 ซม.น้ำ
5.1 renal support ผู้ป่วยที่ช็อกอยู่นานอาจมีภาวะไตวาย ภาวะนี้ร่วมกับ hypercatabolic state จาก septic shock ทำให้มีของ เสียคั่งมากและเร็ว แพทย์ควรแก้ไขภาวะช็อกโดยเร็ว ติดตามว่าผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ที่จะทำ renal replacement therapy หรือไม่ ในปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลว่าการรักษาทดแทนหน้าที่ของไตวิธีใดจะมีประสิทธิภาพเหนือกว่ากัน ในผู้ป่วย septic shock
5.5 Nutrition support การให้อาหารที่พอเหมาะมีความสำคัญทั้งใน แง่การรักษาและการป้องกันภาวะ sepsis โดยทั่วไป วิธีการให้ enteral nutrition เป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุด แต่ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับ enteral nutrition ได้
การวินิจฉัย
จากคำจำกัดความเบื้องต้น การวินิจฉัยสามารถทำได้โดยผู้ป่วยที่มีลักษณะของ SIRS ร่วมกับมีการติดเชื้อ แต่ในทางปฏิบัติเป็นการยากพอสมควร จึงแนะน าให้เก็บตัวอย่างเลือด หนอง สิ่งคัดหลั่งที่สงสัยว่าจะมีการติดเชื้อ เพื่อเพาะเชื้อ และให้ยาปฏิชีวนะแบบครอบคลุมไปก่อน ในกรณีที่ไม่ทราบแหล่งการติดเชื้อที่ชัดเจน
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจโลหิตวิทยา วันที่ 7 ตุลาคม 62
Hb 9.1 g/dl ต่ำ
Hct 28.4 % ต่ำ
RBC 3.65 x106/ul ต่ำ
MCV 77.6 fL ต่ำ
MCH 25.0 pg ต่ำ
RDW 19.4% ต่ำ
แปลผล มีภาวะซีด
Lymphocyte 85.4 %
Monocyte 9.4 %
Eosinophill 0.1 %
แปลผล มีภาวะติดเชื้อ
Platelet Count 97,000 ul ต่ำ
แปลผล มีภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก
ตรวจเคมีคลินิก วันที่ 7 ตุลาคม 2562
Potassium 3.05 ต่ำ
แปลผล Hypokalemia
Calcium 7.2 mg/dl
แปลผล Hypocalcemia
ตรวจจุลชีววิทยา วันที่ 4 ตุลาคม 2562
Troponin – T 0.085 ng/mL
แปลผล กล้ามเนื้อหัวใจอาจมีภาวะขาดเลือด
Hemoglobin detection,stool positive
-
Past history
-
-
-
ผู้ป่วยมีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูงมาประมาณ 10 ปี (ปี2552) รักษาด้วยการรับประทานยา และมาติดตามอาการที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
-
-
Losec(20) 1x2 oral ac
ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
ยาชนิด Proton pump inhibitor
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวดศีรษะ
-
-
-
-
Levophed (4 / 250) 13 ml/hr (0.07 mg/kg/min)
ยาที่มีลักษณะคล้ายกันกับอะดรีนาลีน มีฤทธิ์ช่วยหดหลอดเลือด เพิ่มความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด ใช้รักษาภาวะความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
ผลข้างเคียง ลมพิษ มีปัญหาในการหายใจ
meropenam 1 กรัม iv drip q 8 hrs. ผสมใน 0.9% NSS 100
มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย ใช้รักษาหรือป้องกันโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
ผลข้างเคียง ลมพิษ ใบหน้าบวม คอบวม ชัก
Problem list
1.มีอาการบวมที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง กดบุ๋มได้ระดับ 3
2.มีแผลกดทับหลายที่
3.มีเสมหะเยอะ เหนียวข้น
4.ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
5.มีภาวะความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน