Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
weather&climate (Meteorology
อุตินิยมวิทยา (กรมอุตุฯไทย
…
weather&climate
Meteorology
อุตินิยมวิทยา
กรมอุตุฯไทย
วิชาที่ว่าด้วยเรื่องของบรรยายกาศทางกายภาพ เคมี พลวัตร(dynamic)ของบรรยากาศ มีส่วนสัมพันธ์โดยตรงระหว่างบรรยากาศพื้นโลก มหาสมุทร และสิ่งมีชีวิตทั่วไป
-
-
-
Climate
ภูมิอากาศ
ค่าเฉลี่ยของกาลอากาศในบริเวณนั้นที่มาจากการตรวจวัดเป็นเวลานาน(ช่วง/คาบต่ำสุด=30ปี) สามารถบรรยายสรุปภาพรวมสภาพอากาศอย่างรวบรัดได้ ต้องมีการอ้างถึงค่าวัดต่ำสุด-สูงสุดที่เคยวัดได้ด้วย
Atmosphere
บรรยากาศ=อากาศที่ห่อหุ้มโลก มีส่วนประกอบของไอน้ำ ฝุ่นละออง ก๊าซต่างๆ มีแรงดึงดูดของโลกดึงให้อากาศหนาแน่นและมีความกดดันสูงที่ระดับน้ำทะเล ยิ่งสูงความหนาแน่น/ความกดดันก็จะลดลง จนถึงขั้นเบาบางจนไม่เหลือเลย(เรียกว่าห้วงอวกาศ/space)
ในทางฟิสิกส์ถ้ายังมีปรากฏการณ์กระทบกันของอณูอากาศอยู่ก็ถือว่ายังอยู่ในขอบเขตของบรรยากาศ
โดยทั่วไปก็อยู่ที่ 600 miles(1000kilometers)
ส่วนประกอบ
ของอากาศ
DRY AIR อากาศแห้ง
อากาศที่ไม่มีไอน้ำเจือปน
อากาศแห้งบริสุทธิ์มีความหนาแน่น 1.2923gm/cm3
ต้องอยู่ภายใต้แรงกดดัน 1013.25hPc
(Hecta Pascal/millibarหน่วยเก่า)
อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
ปกติก๊าซต่างๆจะผสมกันในอัตราส่วน(ต่อหน่วย)คงที่
ยกเว้นไอน้ำ(ขึ้นอยู๋กับระยะห่างจากแหล่งน้ำ) และ CO2
ระดับพื้นผิวถึงประมาณ 80 kilometers
= Homogeneous atmosphere / Homosphere
-
-
Dust ฝุ่นละออง
ผงฝุ่นมีอนุภาคเล็กมาก(microscopic)
จะแขวนลอยในอากาศได้เป็นเวลานาน
เป็นแกนกลางในการกลั่นตัว
ถ้ามีมากและขนาดใหญ่=ทัศนวิสัยแย่
เป็นตัวดูดกลืนและสะท้อนพลังงานดวงอาทิตย์ได้
ถ้าในอากาศมีผงฝุ่นมากเกินไป เช่นภูเขาไฟระเบิด จะทำให้ปริมาณแสงอาทิตย์แผ่ลงมาที่พื้นผิวโลกได้น้อยลงและอาจทำให้โลกเย็นลงได้ เพราะผงฝุ่นในอากาศเป็นตัวกระจายแสงสีส้มและแดงได้มาก
H2Oไอน้ำ
มาจากการคายน้ำของพืชและการระเหย
(Transpiration and Evaporation)
เรียกรวมกันว่า การคายระเหยน้ำ(Evapotranspiration)
ในเขตร้อนชื้นอาจะมีความชื้นสูงสุดถึง 4% โดยปริมาตรของอากาศ
ขณะเดียวกันในบริเวณทะเลทรายและขั้วโลกอาจมีความชื้นในอากาศไม่ถึง 1%
ไอน้ำในอากาศมีความหนาแน่นมากสุดในระดับความสูง 2-3 km จากผิวโลก
ไอน้ำในบรรยากาศสามารถดูดกลืนทั้งพลังงานที่โลกคายออกมาและพลังงานรังสีจากดวงอาทิตย์บางส่วนได้ ไอน้ำในบรรยากาศเป็นตัวควบคุมอิทธิพลที่เกิดจากการถ่ายเทความร้อนในบรรยากาศ
-
-
-
-
-