Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax) (สาเหตุ (ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอดช…
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)
ความหมาย
การมีลมหรืออากาศขังอยู่ภายในช่องเยื่อหุ้มปอดทั้งสองชั้นจากแรงที่มากระทบทรวงอกทำให้เกิดทางติดต่อระหว่างช่องเยื่อหุ้มปอดกับอากาศภายนอก ทำให้ปอดขยายตัวไม่เต็มที่
สาเหตุ
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่เกิดเองโดยไม่ทราบสาเหตุ
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่เกิดขึ้นจากโรคของปอด เช่น โรคหืด ปอดติดเชื้อวัณโรค
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่เกิดจากการได้รับบาดเจ็บ จากแรงกระแทกหรืออุบัติเหตุ
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่เกิดจากการทำหัตถการ
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่เกิดจากแรงดัน เกิดจากมีรูทะลุเข้าไปในปอด
พยาธิสภาพ
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่เกิดเองโดยไม่ทราบสาเหตุ จะมีลมรั่วจากปอดเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอดจนปอดแฟบ โดยพบว่าปอดกลีบบนจะเกิดพยาธิสภาพจากความดันในปอดสูงยอดปอดมีถุงลมพองใหญ่กว่าปอดส่วนล่าง
ภาวะมีลมเข้าไปจากรูทะลุติดต่อระหว่างเยื่อหุ้มปอดกับอากาศภายนอก (open pneumothorax)เมื่อมีอากาศในโพรงเยื่อหุ้มปอด จึงทำให้เกิดความกดดันอากาศเป็นบวก ปอดจึงไม่สามารถขยายตัวได้ปกติ ทำให้อากาศจากภายนอกไหลเข้าสู่ปอดได้ไม่เต็มที่ การแลกเปลี่ยนก๊าซของ
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่เกิดจากแรงดัน (tension pneumothorax)
รูทะลุทำหน้าที่เป็นลิ้นปิดกั้นไม่ให้อากาศออกขณะหายใจออก (one way valve effect) อากาศจากภายนอกจะไหลเข้าสู่โพรงเยื่อหุ้มปอดต่อเนื่องโดยไม่มีการไหลออกของอากาศ ทำให้ความกดดันอากาศภายในโพรงเยื่อหุ้มปอดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนมีความกดดันมากกว่าอากาศภายในทางเดินหายใจของปอด
อาการและอาการแสดง
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่เกิดเองโดยไม่ทราบสาเหตุ
หายได้เองใน 24 ชั่วโมง หายใจเหนื่อย หรือไม่มีอาการ
ภาวะมีลมเข้าไปจากรูทะลุติดต่อระหว่างเยื่อหุ้มปอดกับอากาศภายนอก (open pneumothorax) ประกอบด้วย หายใจลำบาก เจ็บหน้าอก ชีพจรเบา เร็ว หายใจตื้น
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่เกิดจากแรงดัน (tension pneumothorax) ประกอบด้วย อาการของการหายใจถูกกด หายใจลำบาก มีลมแทรกใต้ชั้นผิวหนัง
การวินิจฉัยโรค
ประวัติอาการและอาการแสดง ได้รับอันตรายบริเวณทรวงอก โรคของปอด
การตรวจร่างกาย
พบพยาธิสภาพบริเวณทรวงอก เกิดบาดแผล กระดูกซี่โครงหัก
การเคลื่อนไหวของทรวงอกน้อยด้านที่มีพยาธิสภาพ เคาะปอดได้เสียงโปร่ง
การตรวจพิเศษ ภาพรังสีทรวงอกพบลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
การรักษา
มีเป้าหมายเพื่อให้ปอดขยายตัว
การใส่ท่อระบายทรวงอก (intercostal chest drainage)
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำทดแทน
การให้ออกซิเจน บรรเทาอาการปวด อาการไอ
การใช้เครื่องช่วยหายใจและการดูดเสมหะ