Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท (การประเมินการเคลื่อนไหวและกำลังขอ…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาท
1.การซักประวัติ
-ประวัติที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคิดรู้และการรู้สติซักถามข้อมูลจากผู้ป่วยโดยตรง ในภาวะหมดสติซักถามจากญาติ
2.การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท ระดับความรู้สึก
Full consciousness มีการรับรู้ปกติ
Confusion รู้สึกสับสน
Disorientation ระดับความรู้สึกตัวเริ่มลดลง
Drowsiness มีอาการง่วงพูดช้าและสับสน
Stupor มีการตอบสนองที่เกิดขึ้นจะค่อนข้างช้า
Coma ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
-Semi coma อาจมีการขยับแขน
-Coma ผู้ป่วยไม่มีการตอบสนองต่อการกระตุ้นเลย
การประเมินการเคลื่อนไหวและกำลังของแขนขา
ระดับ 0 = กล้ามเนื้อเป็นอมพาต
ระดับ 1 = กล้ามเนื้อไม่มีแรงตัวแต่ยายกล้ามเนื้อหดตัวได้
ระดับ 2 = กล้ามเนื้อมีแรงที่จะเคลื่อนไหวข้อตามแรงโน้มถ่วงได้
ระดับ 3 = แขนหรือขาสามารถยกได้แต่ต้านแรงที่กดไว้ไม่ได้
ระดับ 4 = แขนหรือขาสามารถยกได้แต่ต้านแรงที่กดได้น้อยกว่าปกติ
ระดับ 5 = แขนหรือขามีกำลังปกติ
การประเมินทางระบบประสาท การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง
1.คอแข็ง
2.Brudzinki’s sign
3.Kernig sign
การวัดระดับความรู้สึก (Coma scale)
1.การลืมตา (eye opening)
ระดับคะแนน 1-4
E2 = ลืมตาเมื่อเจ็บ
E3 = ลืมตาเมื่อเรียก
E1 = ไม่ลืมตาเลย
E4 = ลืมตาเอง
2.การสื่อภาษาที่ดีที่สุด (best verbal response)
ระดับคะแนน 1-5
V1 = ไม่ส่งเสียง
V2 = ครวญคราง
V3 = ส่งเสียงเป็นค่ำๆ
V4 = พูดได้เป็นประโยค แต่สับสน
V5 = พูดตอบคำถามได้ปกติ
3.การเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด (best motor response)
ระดับคะแนน 1-6
M1 = ไม่มีการเคลื่อนไหว
M2 = แขนและขาเหยียดผิดปกติ
M3 = แขนงอเข้าหาลาตัว ส่วนขาทั้ง 2 ข้างเหยียดงอ
M4 = เมื่อทำให้เจ็บชักแขนขาหนี
M5 = ไม่ทำตามสั่งแต่ทราบตำแหน่งที่เจ็บ
M6 = เคลื่อนไหวตามคำสั่งได้ถูกต้อง
สมองบวม (Cerebral edema)
เป็นภาวะที่เนื้อสมองเพิ่มปริมาตรเนื่องจากการบวมน้ำภายหลังได้รับความบาดเจ็บที่ศีรษะ
1.Vasogenic edema
เกิดจากการมีการทำรายการทำหน้าที่ตามปกติของ blood brain barrier ทำให้มีน้ำและโปรตีน รั่วเข้าสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์
2.Cytotoxin edema
เกิดจากการเสียหน้าที่ในการขับโซเดียมออกนอกเซลล์ จึงทำให้มีโซเดียมและน้ำสูงภายในเซลล์
การบาดเจ็บใดๆที่มีต่อหนังศีรษะกะโหลกศีรษะและเนื้อเยื่อที่เป็นส่วนประกอบภายในกะโหลกศีรษะ ซึ่งอาจทำให้มีหรือไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
1.หนังศีรษะ เป็นชั้นซึ่งมีหน้าที่ช่วยป้องกันและลดอันตรายที่จะเกิดแก่กะโหลกศีรษะและสมอง บาดแผลที่เกิดบริเวณหนังศีรษะ
บวม ช้ำ หรือโน เป็นการชอกช้ำของหนังศีรษะชั้นนอกจากแรงกระทบ โดยตรงจากวัตถุที่ไม่มีคม
ถลอก เป็นการหลุดของผิวหนังชั้นหนังกำพร้า เมื่อศีรษะครูดกับวัตถุ
ฉีกขาด เป็นบาดแผลที่เกิดจากวัตถุที่มีคม ทำให้เกิดบาดแผลที่มีขอบเรียบ
2.กะโหลกศีรษะ ประกอบด้วยกระดูกหลายชิ้นเชื่อมติดกันสนิทในผู้ใหญ่ ภายในโพรงกะโหลกศีรษะมีช่องเปิดที่สำคัญ บริเวณกระดูกท้ายทอย
กะโหลกแตกร้าวบริเวณฐาน
ลอยเขียวคล้ำ
แก้วหูฉีกขาดเลือดออกหลังแก้วหู
บริเวณหลังหู
มีน้ำหรือเลือดไหลทางจมูก/ทางรูหู
ผิวหนังบริเวณรอบมองตาเขียวคล้ำ
3.เนื้อสมองช้ำ เป็นภาวะที่เลือดแทรกอยู่ระหว่างเซลล์สมองใต้เยื่อเพีย โดยไม่มีการฉีกขาดของ Arachinoid และ pia ทำให้ผิวของสมองมีสีคล้ำ sulcus และ gurus หายไป
ตำแหน่งที่มีการทำได้บ่อยคือ บริเวณสมองส่วนหน้า
ปัญหาที่พบบ่อยของผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
ภาวะความรู้สึกตัวลดลง
เป็นความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัวที่ทำให้ความตื่นตัวลดลง มีความรุนแรงของอาการต่างๆกัน
1.กลุ่มที่เกิดจากมีรอยโรคในศีรษะ ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะตรวจร่างกายทางระบบประสาทพบความผิดปกติจากการที่รอยโรคมีการกดเบียดเนื้อสมองปกติที่อยู่รอบ
2.กลุ่มที่ไม่ได้มีรอยโรคในศีรษะ ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะตรวจร่างกายทางระบบประสาทปกติ การบาดเจ็บที่ศีรษะ
การรักษา
1.การผ่าตัด
มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
การลดความดันภายนอกโดยการทำ craniotomy
ความดันภายในโดยการผ่าตัดเอาสิ่งกินที่ออก
การทำ ventricular drainage
1.Craniotomy เป็นการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะแล้วปิดกะโหลก
-Osteoplastic flap
-Free bone flap
2.Craniectomy เป็นการผ่าตัดเปิดกะโหลกแล้วไม่ปิด
-Secondary decompressive craniectomy
เปิดกะโหลกเพื่อรักษาภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
-Primary decompressive craniectomy
เนื่องจากมีพยาธิสภาพที่ทำให้สมองบวมปิดกะโหลกไม่ได้
3.Cranioplasty เป็นการผ่าตัดปิดกะโหลกศีรษะในภายหลัง
2.การใช้ยา
Sedative และ muscle relaxant
ให้ยาเพื่อควบคุมความดันเลือด
ให้ยาควบคุมอาการชัก ยาขับปัสสาวะ
ยาสเตียรอยด์