Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท (การประเมินทางระบบประสาท…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัว
Full consciousness
Confusion
Disorientation
Drowsiness
Stupor
Coma
Semi coma
Coma
การประเมินการเคลื่อนไหวและกาลังของแขนขา
ระดับ 0
กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต/แขนหรือขา
ระดับ 1
กล้ามเนื้อไม่มีแรงหดตัวแต่ใยกล้ามเนื้อหดตัวได้
ระดับ 2
กล้ามเนื้อมีแรงที่จะเคลื่อนไหวข้อตามแรงโน้มถ่วงได้
ระดับ 3
แขนหรือขาสามารถยกได้ แต่ต้านแรงที่กดไว้ไม่ได้
ระดับ 4
แขนหรือขาสามารถยกได้ แต่ต้านแรงที่กดได้น้อยกว่าปกติ
ระดับ 5
แขนหรือขามีกาลังปกติ
การตรวจการทางานของการรับความรู้สึก
4+
มีปฏิกิริยาอย่างมาก
3+
มีปฏิกิริยามากกว่าปกติ
2+
ปกติ
1+
มีปฏิกิริยาน้อยกว่าปกติ
0
ไม่มีปฏิกิริยา
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง (Stiff neck )
Brudzinki’s sign
Kernig sign
จะต้องประเมินจากหลายด้านรวมกัน ได้แก่
การวัดระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
การวัดสัญญาณชีพ
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย
การวัดระดับความรู้สึกตัวGlasgowComa Scale: GCS
การลืมตา (E),การสื่อภาษาที่ดีที่สุด(V),การเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด(M)
จาแนกระดับความรุนแรงออกเป็น 3 ระดับ
บาดเจ็บที่ศีรษะระดับเล็กน้อย13-15คะแนน
บาดเจ็บที่ศีรษะระดับปานกลาง9-12คะแนน
บาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรงต่ากว่าหรือเท่ากับ 8 คะแนน
การประเมินการหายใจ
Cheyne-Stoke respirationคื
หายใจเร็วสลับกับหยุดหายใจ เป็นระยะ
Central neurogenic hyperventilation
หายใจหอบลึกสม่าเสมอมากกว่า 40 ครั้ง/นาที
ApneuticBreathing
รหายใจเข้าเต็มที่แล้วหยุดนิ่งเป็นเวลานาน
Biot’sor ArtaxicBreathing
การหายใจไม่สม่าเสมอทั้งอัตราเร็วและความลึก
Cluster Breathing
หายใจเป็นกลุ่มๆ และมีช่วงจังหวะการหยุดหายใจไม่สม่าเสมอ
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง
ลักษณะของรูม่านตา
รูปร่าง(shape)
ขนาด(size)
ปฏิกิริยาต่อแสง ( react to light)
การเคลื่อนไหวและกาลังของแขนขา
นอกจากนี้ในผู้ป่วยที่ไม่รู้สติ มักนิยมตรวจ
Oculocephalic Reflex
ซึ่งโดยปกติตาทั้ง 2 ข้าง จะเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงกันข้ามกับที่ศีรษะหมุน
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ
การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะ
การถ่ายภาพรังสีกระดูกสันหลัง
Computed Tomography : CT
Magnetic Resonance Imaging: MRI
การเจาะหลัง (Lumbar puncture)
Electroencephalogram : EEG
Cerebral angiography
Continuous Intracranial Pressure Monitoring
ภาวะความรู้สึกตัวลดลง
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
1.กลุ่มที่เกิดจากมีรอยโรคในศีรษะ
เนื้องอกในสมอง เลือดออกในสมอง สมองขาดเลือด
2.กลุ่มที่ไม่ได้มีรอยโรคในศีรษะ
โรคทางจิตเวช
ภาวะขาดออกซิเจน
Na ต่าหรือสูง
เมตาบอลิกในเลือดผิดปกติ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ(Head injury –HI)
หมายถึง การบาดเจ็บใดๆที่มีต่อหนังศีรษะ กะโหลกศีรษะและเนื้อเยื่อที่เป็นส่วนประกอบภายในกะโหลกศีรษะ ซึ่งอาจทาให้มีหรือไม่มีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
แบ่งออกเป็น 2แบบ
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะอยู่นิ่ง
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่
skull fracture
กะโหลกแตกร้าวบริเวณฐาน
กะโหลกแตกยุบ
เนื้อสมองช้า
การบวมของเนื้อสมอง
มี 2ชนิด
1.Vasogenic edema
blood brain barrier ทาให้มีน้าและโปรตีน รั่วเข้าสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์
Cytotoxic edema
เกิดจากการเสียหน้าที่ในการขับโซเดียมออกนอกเซลล์ จึงทาให้มีโซเดียมและน้าสูงภายในเซลล์
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง
Intracranial hematoma
subdural hematoma-SDH
เกิดการฉีกขาดของ bridging vein
acute subdural hematoma
ให้เกิดอาการภายใน 2วันถึง 2สัปดาห์
chronic subdural hematoma
การบาดเจ็บที่เกิดหลังจากบาดเจ็บนานเป็นหลายๆเดือน
Subarachnoid hemorrhage
เป็นการมีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มสมองระหว่างชั้น arachinoidกับชั้น pia matterมีการฉีกขาดของ bridging vein ระหว่างผิวสมองและ veneous
intracerebral hematoma-ICH
อาการแสดงมักสัมพันธ์กับขนาดและตาแหน่งของก้อนเลือดทาให้หน้าที่ของสมองเฉพาะส่วนเสียไป และมีความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น
epidural hematoma-EDH
ผู้ป่วยจะหมดสติทันทีหลังได้รับแรงกระแทกที่ศีรษะ
วิธีการรักษา
การผ่าตัด
craniotomy คือการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะแล้วปิด
Osteoplastic flap
Free bone flap
การผ่าตัดเอาสิ่งกินที่ออก
Craniectomy
Cranioplasty
การผ่าตัดปิดกะโหลกศีรษะในภายหลัง
การใช้ยา
sedativeและ musclerelaxant
ให้ยาเพื่อควบคุมความดันเลือด
ให้ยาควบคุมอาการชัก
ยาขับปัสสาวะ
ยาสเตียรอยด์
ข้อบ่งชี้สาหรับการผ่าตัดก้อนเลือดในกะโหลกศีรษะ
Epidural hematoma
EDH ขนาด > 30 cc. ควรผ่าตัด
EDH ขนาด < 30cc.และหนา < 1.5 cm.และmidline shift < 5mm.และGCS > 8 และ no focal neurodeficitสามารถรักษาโดยSerial CT scan
Subdural hematoma
SDH หนา >10mm. midline shift > 5mm.ควรผ่าตัด
SDH GCS < 9,ควรทา ICPmonitoring
SDH GCS < 9,หนา < 10mm., midline shift < 5mm.ควรทาผ่าตัดเมื่อ GCSลดลงมากกว่า 2,
Hydrocephalus
การมีนน้ำของสมองและไขสันหลัง (CSF)
ถูกสะสมภายในกะโหลกศีรษะมาก
การสร้างมากเกิน
การอุดตันทางเดินน้าหล่อสมองและไขสันหลัง
การดูดซึมผิดปกติ
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
การรักษาด้วยการผ่าตัด
External Ventricular Drainage = EVD, Ventriculostomy
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การทางานผิดปกติของสายระบายน้าในโพรงสมอง
การติดเชื้อของสายระบายน้าในโพรงสมอง
การอุดตันสายระบายน้าในโพรงสมอง
ภาวะระบายน้าในโพรงสมองมากเกิน
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะ
ไตอักเสบ
การพยาบาลก่อนผ่าตัดสมอง
เตรียมทางด้านจิตใจ
เตรียมทางด้านร่างกายก่อนผ่าตัด
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัดสมอง
ดูแลระบบทางเดินหายใจ
กิจกรรมการพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
กิจกรรมพยาบาลในการช่วยให้ผู้ป่วยสุขสบายและบรรเทาอาการปวดแผลผ่าตัด
กิจกรรมพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อในระบบต่างๆ
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
มีสาเหตุสาคัญ 3 ประการ
มีการเพิ่มขนาดของสมอง
มีสิ่งกินทีในสมอง
สมองบวม
การเพิ่มของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมากขึ้น
การเพิ่มของน้าไขสันหลัง
สาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะ IICP
สาเหตุจากพยาธิสภาพใต้กะโหลกศีรษะ
Extracranial causes
กลไกชดเชย(compensatory mechanism)
ประการแรก จะมีการกระจาย CSF จาก Subarachinoidและ basilar cistern ไปยังไขสันหลัง
ประการ ที่ 2dura ยืดขยายออก และเนื้อสมองก็มีลักษณะอ่อนหยุ่น
ประการที่ 3ลดปริมาณเลือดในสมองมีการลดปริมาณเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่สมองร่วมด้วย
กลไก Autoregulation
Pressure autoregulation mechanism
Metabolic autoregulation
Cushing’s reflex
ความดัน systolic จะสูงขึ้น> 140 mmHg
pulse pressure กว้างมากกว่าปกติ ≥40 mmHg
หัวใจเต้นช้าลง <60 ครั้ง/นาที
การหายใจช้าและลึก หายใจไม่สม่าเสมอ < 12ครั้ง/นาที
GCS drop ≥2 คะแนน
ชีพจรช้าลง
การหายใจช้าลงและลึก
ความรู้สึกตัวเลวลง และรูม่านตาขยาย
การวัดความดันในกะโหลกศีรษะ
Intraventricular monitoring
Subarachinoid monitoring
Subdural mornitoring
Epidural mornitoring
การเจาะหลัง
ปัจจัยส่งเสริมของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
1.การระบายอากาศหายใจไม่เพียงพอ
การได้รับยาที่มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือด
การทากิจกรรมบางอย่าง ที่ทาให้เพิ่มความดันภายในช่องอกหรือช่องท้อง
ภาวะไข้สูง
อุณหภูมิร่างกายต่าเกินไป
อารมณ์หรือการถูกกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
ภาวะสมองเคลื่อน (cerebral herniation)
เป็นภาวะที่เนื้อสมองเคลื่อนสู่บริเวณอื่นที่ไม่ใช่ตาแหน่งที่ตั้งตามปกติ
การเคลื่อนของสมองสามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ
ช่องทางเหนือเทนทอเรียม
ช่องทางใต้เทนทอเรียม
มีการเคลื่อนของสมองใหญ่ซีกหนึ่งไปยังซีกตรงข้ามที่มีแรงดันน้อยกว่า
Central herniation
Uncal herniation
บริเวณช่องใต้กะโหลก
อาการและอาการแสดง
การหายใจ อัตราการหายใจช้าลง ไม่สม่าเสมอ
การไหลเวียนเลือดผิดปกติ มีการลดของ CBF และสมองต้องปรับตัวเพิ่มความดัน systolic มากกว่า diastolic BP
อุณหภูมิจะเพิ่มถึง 39-40 องศาเซลเซียส
อาการปวดศีรษะ
อาเจียนหรือสะอึก
การชัก
การอ่อนแรงและการมีอัมพาตของกล้ามเนื้อ
ขั้วประสาทตาบวม
การรักษา
กลุ่ม osmotic diuretics เช่น mannitol 20% และ 25% (0.25 g/kg)
Glucocorticoids เป็นยาช่วยลดสมองบวม
Anticonvulsant ยากันชัก
Nonosmoticdiuretic
Babiturate
การผ่าตัด เพื่อลดสิ่งที่เบียดสมอง
ลดความดันภายนอกโดยการผ่าตัดทา Decompressive Craniectomy
ลดความดันภายในโดยการทา Ventricular drainage