Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบประสาท (การดูแล Pt. ที่มีภาวะ IICP (1…
ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาท
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกายทางระบบประ สาท
การประเมินระดับความรู้สึกตัว (Level of Conslousness)
การประเมินทางระบบประสาท (Cranial nerve function)
การประเมินการเคลื่อนไหวและกำลังของแขนขา (Motor power)
การตรวจการทำงานของการรับความรู้สึก (Sensory Function)
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง (Signs of meningeal irritation) 1.คอแข็ง (Stiff neck) 2.Brudzinki's sign 3.Kernig sign
Hydrocephalus
การแบ่งชนิด
1.แบ่งตามการอุด ตันทางเดินน้ำหล่อสมองไขสันหลัง
1.1) Non communicating
1.2)Communicating hydrocephalus
2.แบ่งตามพยาธสรีรวิท ยากลไลการเกิด
2.1การสร้างน ในโพรงสมองมากเกิน
2.2การอุดตันทางเดินน้ำหล่อ สมองและไขสันหลัง
2.3การดูด ซึมน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
ลดการสร้างน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง 25-50%
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
-ผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างงกาย เช่น EVD , Ventriculostomy
-ผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่ องในร่างกาย เช่น ช่องท้อ ง ช่องหัว ใจ ช่องปอด
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
1.การทำงานผิดปกติข องสายระบายน้ำในโพรงสมอง (Shunt malfunction)
2.การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง (Shunt infection)
3.การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง (Shunt obstruction)
4.ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน (Overdrainage)
5.ภาวะสมองตีบแคบ(Slit ventricle)
6.ภาวะเลือดออกในสมอง
7.ไตอักเสบ(Shunt nephritis)
Head injury Or Traumatic Brain Injury
ความหมาย การบาดเจ็บต่อหนังศรีษะ กะโหลก เนื้อเยื่อ และส่วนประกอบภายในกะโหลกศรีษะ
กลไก
1.การบาดเจ็บโดยตรง
1.1)บาดเจ็บที่เกิดขณะศรีษะหยุดนิ่ง เช่น ถูกตี ถูกยิง
1.2)บาดเจ็บที่เกิดขณะศรีษะเคลื่อนที่ เช่น ขับรถไปชนต้น ไม้
2.การบาดเจ็บโดยอ้อม เช่น ตกจากที่สูงก้นกระแทกพื้นทำ ให้ศรีษะกระแทกลงมาบนส่วนกระดูกคอ
พยาธิสรีรภาพ
1.บาดเจ็บที่ศรีษะระยะแรก(Primary head injury)
1.1)หนังศรีษะ (Scalp) บาดแผลที่เกิดขึ้น เช่น
บวมช้ำ หรือ โน ถลอก ฉีกขาด หนังศรีษะขาดหาย
1.2) กะโหลกศรีษะ (Skull) เช่น กะโหลกแตกราวเป็นแนว
กะโหลกแตกราวบริเวณฐาน กะโหลกแตกยุบ
1.3) เนื้อสมองช้ำ
2.บาดเจ็บที่ศรีษะระยะที่สอง(Secondary head injury)
1.1) epidural hematoma-EDH
1.2) sundial
1.3) Subarachnoid gemstone
1.4)intracerebral hematoma-ICH
2.2.สมองบวม(cerebral edema) 1.Vasogenic edema 2.Cytoxic edema
2.1.Intracranial hematoma
การผ่าตัดสมอง
1.Craniotomy ผ่าตัดเปิดกะโหลกศรีษะแล้วปิดมี 2 แบบคือ Osteoplastic flap ,Free bone flap
2.Craniectomy ผ่าตัดกะโหลกแล้วไม่ปิดมี 2 ชนิด คือ Primary decompressive craniectomy , Secondary decompressive craniectomy
Cranioplasty ผ่าตัดเปิดกะโหลกศรีษะในภายหลัง
Nursing Diagnosis
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการ หายใจและทำทางเดินให้โล่งลดลงจากระดับความรู้สึกตัวลดลงร่วมกับมี
พยาธิสภาพที่สมอง
การหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากระดับความรู้สติเปลี่ยนแปลงหรือมีความผิดปกติทางสมอง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลระบบทางเดินหายใจประเมินภาวะพร่องO2 , suction clear air way , จัดท่านอนศรีษะสงู 30 องศา , ดูแลให้ได้รับ O2
2.กิจกรรมการพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันในกะ โหลกศรีษะสูงวัด V/S , ดูแลให้มีการขับถ่ายอุจจาระปกติ ห้ามเบ่ง ห้ามสวน ถ้าไม่ถ่ายรายงานแพทย์
3.กิจกรรมการพยาบาลในการช่วยให้ผู้ป่วยสุขสบายปร ะเมินความปวดด้วย PS , พูดคุยเบี่ยงเบนความสนใจ , ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
4.กิจกรรมพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อในระบบต่างๆ ล้างมือก่อนและหลัง ให้การพยาบาล , ดูแ ลทำแผลด้วยหลัก ปราศจากเชื้อ, ให้ย า ATB ตามแผนการรักษา
การดูแล Pt. ที่มีภาวะ IICP
1.ประเมินการทำงานของระบบประสาท GCS ทุก 15 นาที
2.ดูแลทางเดิน หายใจให้โล่ง
3.จัดท่าศรีษะสงู 30 องศา
4.ป้องกันการเกิด valsava maneuver
5.หลีกเลี่ยงการผูกยืดผู้ป่วย
6.ลดอุณหภูมิในร่างกาย
7.ลดสิ่งกระตุ้นที่ไม่จำเป็น
8.ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเลคโทรลัยท์
9.ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
10.การดูแลเมื่อผู้ป่วยใส่เครื่องวัดความดันในกะโหลกศรีษะ
11.ดูแลทางด้านจิตใจ
กิจกรรมการพยาบาลที่ส่งเสริมให้เกิด IICP
จัดท่าไม่เหมาะสม , ได้รับ O2 ไม่เพียงพอ , ดูดเสมหะไม่มีประสทธิภาพ , พลิกตะแคงตัว ,ควบคมุ BTไม่ได้,ผูกท่อช่วย หายใจ ,การกดทับหลอดเลือดบริเวณคอ ,การเฝ้าระวังที่ไม่ได้ม าตรฐาน
การรักษา
การรักษาด้วยยา
1.1 กลุ่ม osmotic diuretics เช่น mannital 20% และ 25%
1.2 Glucocorticoids
1.3 Anticonvulsant ยากัน ชัก เช่น Phenytomnin (dilantin)
1.4 Nonosmotic diuretic
รักษาด้วยการผ่าตัด
2.1 ลดความดันภายนอกโดยการทำ Decompressive Craniectomy
2.2 ลดความดันภายในโดยการทำ Ventricular drainage
ภาวะสมองเคลื่อน
1.มีการเคลื่อนของสมองใหญ่ซีกหนึ่งไปยังซีกตรงข้ามที่มีแรงดันน้อยกว่า
2.Central herniation
3.Uncal herniation
4.บริเวณช่องใต้กะโหลก กดmedulla เกิดการหยุดหายใจ
อาการ
ชีพเปลี่ยนแปลง ปวดศรีษะ อาเจียนหรือสะอึก การชัก การอ่อนแรงและการมีอัมพาตของกล้ามเนื้อ ขั้วประสาทตาบวม
ภาวะความดัน ในกะโหลกศรีษะสูง IICD
กลไก Autoregulation
1.Pressure autoregulation mechanism เช่น ถ้า ICD สูง arterioles
ของสมองจะหดตัวทำให้เลือดไหลไปสมองได้ลดลง
2.Metabolic autoregulation ไข้สูงชักเกร็ง Hypoxia
cerebral circulation
ความดัน systolic สูง >140 mmHg P กว้าง>40 mmHg RR ช้าลึก ไม่สม่ำเสมอ<12 ครั้ง/นาที หัวใจเต้นช้าลง<60 ครั้ง/นาที GCS drop >2 คะแนน
1.ระยะที่มีการชดเชยโดยกลไลการควบคุมอัตโนมัติ เริ่มมีสิ่งกินที่ ในกะโหลกศรีษะ
2.ระยะทีมuการชดเชยโดย Cushing's reflex เริ่มสูญูเสียกลไกการควบคุมอัตโนมัติของสมอง ความดันในกะโหลกศรีษะสูงมากขึ้น
3.ระยะทายของการชดเชยโดย Cushing's reflex ICPสูง
ศูนย์ควบคุมการหดขยายของหลอดเลือดสมองเป็นอัมพาต
4.ระยะสูญเสียกลไกการชดเชยโดยสิ้นเชิงมีอาการ รูม่านตาขยายสองข้าง
แขนขาอ่อนปวกเปี ยก ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น BPต่ำ BT>40 องศา เสียชีวิต
ICD
ปกติค่าความดัน ในกะโหลกศรีษะผู้ใหญ่มีค่าอยู่ร ะหว่าง 5-15 mmHg โดยในผู้ใหญ่ค่าความดัน ในกะโหลกศรีษะสูง มากกว่า 15 mmHg (หรือ 10-20 cm H2O; 1 mmHg = 1.36 cmH20)
สาเหตุ
1.มีการเพิ่มขนาดของสมองจาก 1.1)มีสิ่งกินที่ในสมอง เช่น ก้อนเลือด ฝี เนื้องอก 1.2)สมองบวม
2.การเพิ่มของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมากขึ้น เช่น เลือดดำ ไหลกลับไม่สะดวก เส้นเลือดแดงในสมองขยายได้รับยาขยายหลอดเลือด
3.การเพิ่มของน้ำไขสันหลัง
อาการ
1.อาการและอาการแสดงที่เกิดจาก IICP ทั่วไป
1.1)เมื่อความดันในกะโหลกสูงถึงไดแอสโตลิคหลอดเลือดฝอยในสมองจะถูกกด ทำให้สมองขาด O2
1.2) มีการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ หายใจช้าลง , ค่า systolic มากกว่า diastolic P กว้าง , BT 39-40 C , ปวดศรีษะ อาเจียนและสะอึก
2.เกิดจากการสูญเสียหน้าที่ของสมองเฉพาะที่
2.1)ผิดปกติในการพูด 2.2)การชัก 2.3) การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
3.เกิดจากการเลื่อนของสมอง
3.1)Early finding กระสับกระส่าย 3.2) Late finding V/S เปลี่ยนแปลง