Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท (Hydrocephalus (โรคแทรกซ้อนจากการผ…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาท
การซักประวัติ
ประวัติที่เกี่ยวขอ้งกับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคิดรู้ และการรู้สติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย
ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรม และบุคลิกภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
ประวตัเิกี่ยวกับการเจ็บป่วยอื่นๆที่เกี่ยวขอ้งกับระบบประสาท ซึ่งมีผลต่อกระบวนการคิด และระดับความรู้สึก ทั้งทางตรง และทางอ้อม
ประวัติเกี่ยวกับแบบแผนการดา เนินชีวิต พฤติกรรมบางอย่าง ส่งผลต่อภาวะความเจ็บป่วยได้
การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
ระดับการรู้สึกตัว
Confusion รู้สึกสับสนและมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
Disorientation การรับรู้ผิดปกติ ผู้ป่วยไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล และ สถานที่ ระดับความรู้สึกตัวเริ่มลดลง
Drowsiness ผู้ป่วยหลับตา แต่เมื่อเรียกชื่อสามารถตื่นลืมตา และ ด าเนินบทสนทนาที่ไม่ซับซ้อนได้ มีอาการง่วง พูดช้าและสับสน
Stupor ผู้ป่วยหลับลึก แต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรง และกระตุ้นซ้ าๆ กันหลายครั้ง
Coma ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
Semi coma ผู้ป่วยสามารถ ตอบสนองต่อการกระตุ้นแบบ deep pain
Coma ผู้ป่วยไม่มีการตอบสนองต่อ การกระตุ้นเลย
Full consciousness รู้สึกตัวดี มีการรับรู้ปกติ
การประเมินการเคลื่อนไหวและกำลังของแขนขา
ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Motor power)
เกรด/ระดับ 2 = กล้ามเนื้อมีแรงที่จะเคลื่อนไหวข้อตามแรงโน้มถว่งได้
•เกรด/ระดับ 4 = แขนหรือขาสามารถยกได้ แต่ต้านแรงที่กดได้น้อยกว่าปกติ
•เกรด/ระดับ 1 = กล้ามเนื้อไม่มีแรงหดตัวแต่ใยกล้ามเนื้อหดตัวได้/มีการ เคลื่อนไหวปลายนิ้วมือ-เท้าได้เล็กน้อย
•เกรด/ระดับ 3 = แขนหรือขาสามารถยกได้ แต่ต้านแรงที่กดไว้ไม่ได้
•เกรด/ระดับ 0 = กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต/แขนหรือขาไม่มีการเคลื่อนไหวเลย
•เกรด/ระดับ 5 = แขนหรือขามีกำลังปกติ
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง (Signs of meningeal irritation)
คอแข็ง (Stiff neck )
Brudzinki’s sign
Kernig sign
การประเมินสภาพผู้ป่วยทางระบบประสาท จะต้องประเมินจากหลาย ด้านรวมกัน
การวัดระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย (coma scale)
การวัดสัญญาณชีพ (vital signs)
การประเมินการหายใจ
การหายใจแบบ Central neurogenic hyperventilation
Apneutic Breathing
การหายใจแบบ Cheyne-Stoke respiration
Biot’s or Artaxic Breathing
Cluster Breathing
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง (focal neurological signs)
ลักษณะของรูม่านตา (pupils)
รูปร่าง (shape)
ขนาด (size)
ปฏิกิริยาต่อแสง ( react to light)
การเคลอื่นไหวและกำลังของแขนขา (movement of the limbs and motor power)
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย (Neurodiagnostic Studies)
การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศรีษะและกระดูกสันหลัง
การถ่ายภาพสมองด้วยคอมพิวเตอร์
การถ่ายภาพโดยใช้คลื่นเสียง
การถา่ยภาพโดยใช้คลื่นเสยี่ง
การเจาะหลัง
การตรวจคลื่นสมอง
การฉดีสารทึบแสงเข้าเส้นเลือดสมอง
การวัดความดันในกะโหลกศีรษะอย่างต่อเนื่อง
ภาวะความรู้สึกตัวลดลง (alteration of consciousness)
พยาธิสภาพ
Ascending reticular activating system หรือ ARAS เป็นระบบการทำงานที่ทำให้เกิดการตื่นตัว ARAS เป็น ระบบที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกับสมองส่วนต่างๆทางเดินประสาทจะเริ่มต้นที่ ก้านสมองส่วนล่างบริเวณ medulla ผ่านไปยัง pons และ midbrain ไป ยัง thalamus แล้วกระจายไปทั่ว cerebral cortex ข้อมูลเกี่ยวกับการ รับความรู้สึกจะถูกส่งผ่านไปยัง cerebral cortex การตื่นตัวจะกระตุ้น เซลล์ประสาทที่สมองใหญ่ทำให้เกิดการตื่นตัว หรือตระหนักรู้ของสมองใหญ่ เป็นการทำงานย้อนกลับซึ่งกันและกัน การรู้สึกตัวจะเปลี่ยนแปลงเมื่อวงจร ดังกล่าวมีปัญหา มีระดับความรุนแรงตั้งแต่เล็กน้อยถึงมาก
สาเหตุ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
กลุ่มที่เกิดจากมีรอยโรคในศรีษะ ผู้ป่วย กลุ่มนี้จะตรวจร่างกายทางระบบประสาทพบ ความผิดปกติจาก การที่รอยโรคมีการกดเบียดเนื้อสมองปกติที่อยู่รอบๆ
กลุ่มที่ไม่ได้มีรอยโรคในศรีษะ : ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะตรวจ ร่างกายทางระบบประสาทปกติ การวินิจฉัยโรคในกลุ่มนี้มัก จำเป็นต้องได้รับการตรวจเพิ่มเติม
การบาดเจ็บที่ศรีษะ (Head injury : HI) หรือ สมองได้รับบาดเจ็บ (Traumatic Brain Injury : TBI)
หมายถึง การบาดเจ็บใดๆที่มีต่อหนังศีรษะ กะโหลกศีรษะ และเนื้อเยื่อที่เป็นส่วนประกอบภายในกะโหลกศีรษะ ซึ่งอาจท า ให้มีหรือไม่มีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
กลไกการเกิดบาดเจ็บที่ศีรษะ
การบาดเจ็บโดยตรง ( direct injury )
บาดเจ็บที่เกิดขณะศรีษะอยู่นิ่ง ( static head injury ) คือ บาดเจ็บที่เกิดแก่ศีรษะขณะอยู่นิ่งหรือเคลื่อนไหวเล็กน้อย เช่น การถูกตี ถูกยิง เป็นต้น
บาดเจ็บที่เกิดขณะศรีษะเคลื่อนที่ (dynamic head injury) คือ บาดเจ็บที่เกิดแก่ ศีรษะขณะที่ศีรษะมีความเร็วไปกระทบกับวัตถุที่อยู่นิ่งหรือ กำลังเคลื่อนที่
การบาดเจ็บโดยอ้อม ( indirect injury )
การบาดเจ็บที่ เกิดขึ้นกับส่วนอื่นของร่างกายแล้วมีผลสะท้อน ทำให้เกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะขึ้น เช่น ตกจากที่สูงก้นกระแทกพื้น ทำให้ศีรษะกระแทกลงมาบน ส่วนของกระดูกคอ เป็นผลทำให้เกิดอันตรายต่อแกนสมองส่วนเมดัลลา โดยตรงหรือ การเคลื่อนไหวของลำตัวอย่างรวดเร็ว ทำให้ส่วนศีรษะ ขาดการรองรับ เป็นผลให้ศีรษะคว่ำไปข้างหน้าหรือหงายไปด้านหลัง อย่างรวดเร็ว ชนิดนี้ไม่มีบาดแผลที่หนังศีรษะและกะโหลกศีรษะ
Indirect injury
สามารถอธิบายตามลักษณะปรากฏการณที่เกิด 2 ระยะ
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก ( primary head injury )
หนังศีรษะ ( scalp ) เป็นชั้นซึ่งมีหน้าที่ช่วยป้องกันและลด อันตรายที่จะเกิดแก่กะโหลกศีรษะและสมอง
กะโหลกศรีษะ ( skull ) ประกอบด้วยกระดูกหลายชิ้น เชื่อมติดกันสนิทในผู้ใหญ่ ภายในโพรงกะโหลกศีรษะมีช่องเปิด ที่สำคัญ บริเวณกระดูกท้ายทอย ( occipital bone ) ชื่อ foramen magnum ซึ่งเป็นทางที่ประสาทไขสันหลังตดิตอ่ กับแกนสมอง บริเวณกะโหลกศรีษะที่มีความบอบบางที่สุดคือ บริเวณกระดูกด้านข้าง ( temporal bone ) และมีผิวที่ขรุขระทั้งด้านนอกและด้านใน
บาดเจ็บที่ศรีษะระยะที่สอง ( secondary head injury )
Intracranial hematoma
epidural hematoma - EDH เกิดจากแรงกระแทกที่ทำให้กะโหลกเปลี่ยนรูป เยื่อ dura แยกออกและมีเลือดออกไปอยู่ ในช่องระหว่างผิวด้านในของกะโหลกศีรษะกับเยื่อ dura มัก เกิดร่วมกับกะโหลกศีรษะส่วน temporal และ parietal แตก มีผลทำให้แขนงของ middle meningeal artery ฉีกขาด
subdural hematoma - SDH เกิดจากการมีเลือดออกบริเวณระหว่าง dura matter และ เยื่อ arachinoid matter หรือ subdura space เชื่อว่า เกิดจากแรงเหวี่ยงทำให้สมองเคลื่อนไปกระแทกกับ sphenoid wing จึงเกิดการฉีกขาดของ bridging vein ระหว่างเยื่อ dura กับสมองจากการที่สมองมี contusion หรือ laceration
Subarachnoid hemorrhage เป็นการมีเลือดออกในชอ่ง เยื่อหุ้มสมองระหวา่งชนั้ arachinoid กับชั้น pia matter อันเนื่องจากมีการฉีกขาดของ bridging vein ระหว่างผิว สมองและ veneous ซึ่งเลือดจะกระจายอยู่ในน้ำไขสันหลัง และ ไม่จับตัวเป็นก้อน เมื่อเลอืดออกภายในชั้นนี้จะไปเพิ่มความดันใน กะโหลกศรีษะให้สูงขึ้น
intracerebral hematoma - ICH มักเกิดร่วมกับการช้ำของสมองส่วนผิว โดยเฉพาะบริเวณ frontal และ temporal แต่ก็พบได้ทุก lobe ของสมองใหญ่ทั้งสองซีก เกิดจากการฉีกขาดของหลอดเลือดที่แตกแขนง ออกไปเลี้ยงส่วน ต่างๆของเนื้อสมอง อาการแสดงมักสัมพันธ์กับขนาดและ ต าแหน่งของกอ้นเลือด ทำให้หนา้ทขี่องสมองเฉพาะสว่นเสียไป และมีความดันในกะโหลกศรีษะสูงขึ้น อัตราการตายสูงและอาจ ต้องรักษาโดยการผ่าตัด
สมองบวม
( cerebral edema ) เป็น ภาวะทเี่นื้อสมอง เพิ่มปริมาตรเนื่องจากการบวมน้ำภายหลังไดร้ับบาดเจ็บที่ศรีษะ ปัจจัยที่ทำให้ปริมาตรของสมองเพิ่มขึ้น เช่น มีการเพิ่มของ จำนวนหน้าทั้งนอกหรือในเซลล์ หรือการเพิ่มปริมาณเลือดที่หล่อ เลี้ยงสมองหรือมีก้อนเลือดในเนื้อสมอง
การผ่าตัดสมอง
Craniotomy คอืการผ่าตัดเปิดกะโหลกศรีษะแล้วปิด กะโหลก การเปิดแล้วปิดมี 2 แบบ
Osteoplastic flap เปิดกะโหลกโดยชิ้นกะโหลกมี กล้ามเนื้อติดยึดระหว่างกะโหลกที่ตัดออกกับกะโหลกเดิม
Free bone flap เปิดกะโหลกออกจากที่เดิมทั้งชิ้น ปัจจุบันนิยมเปิดกะโหลกแบบนี้
Craniectomy คือ การผ่าตัดเปิดกะโหลกแล้วไม่ปิด มี 2ชนิด
Primary decompressive craniectomy เนื่องจากมีพยาธิ สภาพที่ทำให้สมองบวมปิดกะโหลกไม่ได้(เช่น บาดเจ็บที่ศีรษะ)
Secondary decompressive craniectomy เปิดกะโหลก เพื่อรักษาภาวะความดนัในกะโหลกศีรษะสูงซึ่งไม่ตอบสนองต่อวิธี อื่น (Intractable intracranial hypertension)
Cranioplasty
การผ่าตัดปิดกะโหลกศรีษะใน ภายหลัง โดยทั่วไปจะผ่าตัดปิดกะโหลกเมื่อสมองยุบบวม และ ไม่มีการติดเชื้อที่ระบบต่างๆของร่างกาย โดยระยะเวลาประมาณ 1-6 เดือนหลังผ่าตัดเปิดกะโหลกครั้งแรกเพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อ การติดเชื้อ โดยใช้กะโหลกเดิมที่แช่แข็งเก็บไว้,กระดูกจาก ตำแหน่งอื่น เช่น กะโหลกส่วน Outer table ข้างเคียง กระดูกซี่โครง หรือใช้กะโหลกศีรษะเทียม(Methyl methracrylate)
Hydrocephalus
การมีน้ำของสมองและไขสันหลัง (CSF) ถูกสะสมภายในกะโหลกศีรษะใน ปริมาณที่มากเกิน เป็นเหตุนำไปสู่การเกิดสมองบวม (brain swelling)
การแบ่งชนิด (Classification)
แบ่งตามการอุดตนัทางเดินน้ำหล่อสมองไขสันหลัง(Functional classification)
Non communicating hydrocephalus (Obstructive hydrocephalus) การอุดตันโพรงสมอง
Communicating hydrocephalus การอุดตันนอกโพรง สมอง,การสร้างหรือการดูดซึมน้ำหล่อสมองและไขสันหลังผิดปกติ
แบ่งตามพยาธิสรรีวทิยากลไกการเกิด
การสร้างน้ำในโพรงสมองมากเกิน (Increase CSF secretion)
การอุดตันทางเดินน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง ( CSF pathway obstruction)
การดูดซึมน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง (Decreaed CSF absorption)
พยาธิสรีรวิทยา
น้ำหล่อสมองและไขสันหลังส่วนใหญ่สร้างจาก Choroid plexus มีส่วนประกอบคล้ายพลาสม่าต่างกันที่ โปรตีนและเกลือแร่ต่ำกว่า สร้างประมาณวันละ 500 ซีซี ( 0.35 ซีซี/นาที) ทำหน้าที่หล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง รองรับแรงกระแทก
ความผิดปกติที่ก่อใหเ้กิดภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
การสร้างมากเกิน เช่น เนื้องอกของ Choroid plexus (Choroid plexus papilloma)
การอุดตันทางเดินน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
Obstructive hydrocephalus หรือ Non communicating hydrocephalus
Communicating hydrocephalus
การดูดซึมผิดปกติ
การรักษา (Treatment)
การรักษาด้วยยา
ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลด การสร้างน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย (External Ventricular Drainage = EVD, Ventriculostomy)
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย ผ่าตัด ใส่สายระบายจาก
โพรงสมองลงช่องปอด (Ventriculo-pleural shunt)
โพรงสมองลงช่องใตเ้ยื่อหุ้มสมอง (Ventriculo-cistern magna shunt (Torkildsen shunt)
โพรงสมองลงช่องหวัใจ (Ventriculo-atrial shunt)
โพรงสมองลงช่องทอ้ง (Ventriculo-peritoneal shunt)
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด(Complication)
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt malfunction ) มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน เกิดจากหลาย สาเหตุ เช่น การเลือกวาล์วผิด,การติดเชื้อ,การอุดตันจากอวัยวะข้างเคียง
การตดิเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt infection)
การอัดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt obstruction) เนื่องจากChoroid plexus หรือ Omentum
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกนิ(Overdrainage) เนื่องจากใส่วาล์วที่ไม่สัมพันธ์กับแรงดันในกะโหลกศีรษะ
ภาวะโพรงสมองตบีแคบ(Slit ventricle) เมื่อมีการระบายมาก เกิน หรือมีการอุดตันชั่วคราว(Intermittent occlusion) หรือมีการอุดตัน ร่วมกับGliosis รอบโพรงสมองท าให้โพรง สมองไม่ขยายตัวและตีบแคบ
ภาวะเลือดออกในศรีษะ
ไตอักเสบ (Shunt nephritis) เกิดจากการผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองไปยังหัวใจ (Ventriculoatrial shunt) ทำให้มีการติดเชื้อในกระแสเลือดและกลไกการอักเสบ
การพยาบาลก่อนผ่าตัดสมอง
เตรียมทางด้านจิตใจ
เตรียมทางด้านร่างกายก่อนผ่าตัด
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัดสมอง
ดูแลระบบทางเดินหายใจ
กิจกรรมการพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันในกะโหลก ศีรษะสูง
กิจกรรมพยาบาลในการช่วยให้ผู้ป่วยสุขสบายและบรรเทาอาการ ปวดแผลผ่าตัด
กิจกรรมพยาบาลในการป้องกนัการติดเชื้อในระบบตา่งๆ
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increase intracranial pressure = IICP )
ผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่สมอง เช่น เนื้องอกสมอง หรือ ภายหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ มีแนวโน้มที่จะเกิด ภาวะ ความดันในกะโหลกศีรษะสูงภายใน 24-72 ชั่วโมง แรก และมีโอกาสเกิดได้สูงสุดใน 6 ชั่วโมงแรก หลัง ผ่าตัด
ปกติค่าความดันในกะโหลกศีรษะผู้ใหญ่มีค่า อยู่ระหว่าง 5-15 mmHg
สาเหตุที่ทำให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูง
มีการเพิ่มขนาดของสมอง
สมองบวม
มีสิ่งกินที่ในสมอง
การเพิ่มของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมากขึ้น
เลือดดำไหลกลับไม่สะดวก
เส้นเลือดแดงในสมองขยาย
ได้รับยาขยายหลอดเลือดสมอง
การเพิ่มของน้ำไขสนัหลัง
มีการผลิตมากขึ้นจากมีเนื้องอกของ choroid plexus
มีความผิดปกติในการดูดซึม
มีการอุดตันของทางเดินน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง IICP
ผู้ป่วยจะเริ่มสับสน ง่วงซึม กระสับ กระส่าย มีความลำบากในมีการรับรู้ที่ผิด เมื่อ ความดันเพิ่มขึ้นผู้ป่วยจะอยู่ในภาวะ stupor และโคม่า ในระยะ สุดท้ายจะไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด และอยู่ใน ระยะโคม่าลึก (deep coma)
การหายใจ ระยะแรกไม่เปลี่ยนแปลง จนก้านสมอง หรือ hypothalamus ถูกกด จะทำให้ อัตราการหายใจช้าลง ไม่สม่ำเสมอ เกิด chyne-stroke เมื่อ medullar ถูกทำลายจะเกิด ataxia ได้
อุณหภูมิกายสูงขึ้น
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากการสูญเสียหน้าที่ ของสมองเฉพาะที่
ผิดปกติในการพูด
การชัก
การอ่อนแรงของกลา้มเนื้อ
การวัดความดันในกะโหลกศีรษะ
Intraventricular monitoringโดยใส่สายยางเล็กๆ ผ่านทางรู burr hole เข้าไปทาง lateral ventricle วัด ค่าโดยตรงโดยต่อเข้า transducer ข้อดีคือสายจะยาว ข้อเสียคือ เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่ายมาก
Subarachinoid monitoring ใส่ท่อเข้าไปในช่อง subarachnoid โดยตรง แล้วต่อเข้ากับ transducer ของ mornitor วัดได้เที่ยงตรง แต่เสี่ยงต่อการตดิเชื้อได้มาก
Subdural mornitoring ใส่ท่อเข้าไปที่ subdural
Epidural mornitoring ใส่ท่อเข้าไปในช่องระหว่างกะโหลก ศีรษะกับเยื่อหุ้มสมองชั้นดูรา
การเจาะหลัง
ปัจจัยส่งเสริมของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
การระบายอากาศหายใจไม่เพียงพอ (Hypoventilation)
การได้รับยาที่มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือด
การทำกิจกรรมบางอย่าง ที่ทำให้เพิ่มความดันภายในช่องอกหรือช่องท้อง (Valsava’s maneuver)
ภาวะไข้สูง
อุณหภูมิร่างกายต่ำเกินไป
อารมณ์หรือการถูกกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
กลไกการปรับชดเชย Compesatory mechanism
ประการแรก
จะมีการกระจาย CSF จาก Subarachinoid และ basilar cistern ไปยังไขสันหลัง ถ้า ICP ยังสูง ต่อไป ก็จะลดการสร้างน้ า CSF ที่ chroid plexus ลง และเพิ่ม การดูดกลับของ CSF ที่ arachinoid villi การลดอัตรา การสร้าง CSF เมื่อ ICP สูงขึ้น จึงสร้าง CSF ลดลง ส่วนการดูดซืม CSF ปกติ ขึ้นอยู่กับจำนวนของ CSF ถ้า ICP มาก CSF จะถูกดูดซึมกลับมากขึ้น
ประการ ที่ 2
dura ยืดขยายออก และเนื้อสมองก็มี ลักษณะอ่อนหยุ่น
ประการที่ 3
ลดปริมาณเลือดในสมอง โดยถ่ายเทเลือดดำไปยังบริเวณ Venous sinus เพิ่มขึ้น และมีการลด ปริมาณเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่สมองร่วมด้วย
ภาวะสมองเคลื่อน (cerebral herniation)
เป็นการเคลื่อนที่ของเนื้อสมองจากส่วนที่มีความดันสูงไปยังส่วนที่มีความดันต่ำกว่า และเป็นช่องทางที่เปิด อย่างผิดปกติ (abnormal opening) การเคลื่อน ของสมองสามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
ช่องทางเหนือเทนทอเรียม (supratentorial)
ช่องทางใต้เทนทอเรียม (infratentorial)
อาการและอาการแสดง
การหายใจ อัตราการหายใจช้าลง ไม่สม่ำเสมอ
การไหลเวียนเลอืดผิดปกติมีการลดของ CBF และ สมองต้องปรับตัวเพิ่มความดัน systolic มากกว่า diastolic BP
อุณหภูมิจะเพิ่มถึง 39-40 องศาเซลเซียส (hypertermia)
อาการปวดศรีษะ
อาเจียนหรือสะอึก
การชัก
การอ่อนแรงและการมีอัมพาตของกลา้มเนื้อ
ขั้วประสาทตาบวม
การรักษา
การรักษาด้วยยา
กลุ่ม osmotic diuretics
Glucocorticoids
Anticonvulsant ยากันชัก
Nonosmotic diuretic
Babiturate
การผ่าตัด
ลดความดันภายนอกโดยการผ่าตัดทำDecompressive Craniectomy
การรักษา
ลดความดันภายในโดยการทำ Ventricular drainage