Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท (การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
Glasgow Coma scale
สามารถบอกระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บและทำนายผลลัพธ์การบาดเจ็บได้
ค่าคะแนนรวมทั้ง 3 ด้านมีระดับคพแนนตั้งแต่ 3-15 คะแนนสามารถจำแนกระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ ออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ การบาดเจ็บที่ศรีษะเล็กน้อย การบาดเจ็บที่ศีรษะระดับปานกลาง การบาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรง
1.ความสามารถในการลืมตา (Eye opening = E) เพื่อดูกลไกการทำงานของศูนย์ควบคุมความรู้สึกตัวว่ามีการสูญเสียหน้าที่จากพยาธิสภาพของสมองหรือไม่
2.ความสามารถในการสื่อภาษาที่ดีที่สุด (Best verbal response = V)
3.ความสามารถในการเคลื่อนไหวดีที่สุด ( Best motor response = M)
การประเมินสัญญาณชีพ
การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพสัมพันธ์โดยตรงกับพยาธิสภาพของสมอง เพราะสมองบางส่วนเป็นศูนย์กลางในการควบคุมการหายใจ การไหลเวียนและความดันโลหิต รวมทั้งอุณหภูมิของร่างกาย
การประเมินการหายใจ จะสังเกตอัตราการหายใจ จังหวะ และความลึก
การวัดสัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง
จะช่วยในการวินิจฉัยและประเมินระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ ซึ่งจะต้องประเมิน ลักษณะของรูม่านตา (pupils) และ การเคลื่อนไหวและกำลังของแขนและขา (Movement of the limbs motor power)
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ
การถ่ายภาพรังสีกระโหลกศรีษะและกระดูกสันหลัง (Skull and spine radiographic)
การถ่ายภาพสมองด้วยคอมพิวเตอร์
การถ่ายภาพด้วยคลื่นเสียง
การเจาะหลัง
การตรวจคลื่นสมอง
การฉีดสารทึบแสงเข้าสเ้นเลือดสมอง
ภาวะความรู้สึกตัวลดลง
พยาธิสรีรวิทยา
Ascending reticular activating system หรือ ARAS เป็นระบบการทำงานที่ทำให้เกิดการตื่นตัว การตื่นตัวจะกระตุ้นเซลล์ประสาทที่สมองใหญ่ทำให้เกิดการตื่นตัว หรือตระหนักรู้ของสมองใหญ่เป็นการทำงานย้อนกลับซึ่งกันแหละกันการรู้สึกตัวจะเปลี่ยนแปลงเมื่อวงจรดังกล่าวมีปัญหา มีรัดับความรุนแรงตั้งแต่น้อยถึงมาก
การบาดเจ็บที่ศรีษะ
กลไกการบาดเจ็บ
การบาดเจ็บโดยตรง
การบาดเจ็บขณะที่ศรีษะอยู่นิ่ง เช่น การถูกตี ถูกยิง เป็นต้น พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นเป็นพยาธิสภาพเฉพาะที่เท่านั้น
บาดเจ็บที่เกิดขณะศรีษะเคลื่อนที่ เช่น ขับรถไปชนต้นไม้ เป็นต้น เมื่อศรีษะกระทบของแข็ง จะทำให้เกิดการบาดเจ็บหรือพยาธิสภาพแก่สมองส่วนนั้น
การบาดเจ็บโดยอ้อม
คือการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับส่วนอื่นของร่างกายแล้วมีผลสะท้อนแล้วทำให้เกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะขึ้น เช่น ตกจากที่สูงก้นกระแทกพื้น ทำให้ศรีษะกระแทกลงมาบนส่วนของกระดูกคอ เป็นต้น
กระโหลกแตกร้างบริเวณฐาน
การวินิจฉัย
รอยเขียวคล้ำบริเวณหลังหู
แก้วหูฉีกขาด เลือดออกหลังแก้วหู
มีน้ำหรือเลือดไหลออกทางจมูกหรือทางหู
ผิวหนังบริเวณเบ้าตาเขียว คล้ำ
พยาธิสภาพ
กระโลกแตกยุบชนิดนี้เกิดเนื่องจากแรงกระทบบนบริเวณที่แคบกว่าชนิดกะโหลกแตกร้าว แรงกดที่กระทำต่อกะโหลกต้องแรงกว่าหรือเทากับความหนาของกระโหลกส่วนนั้น พบว่าเกิดร่วมกับการฉีกขาดของเยื่อดูราหรือเนื้อสมองร้อยละ 60 และร่วมกับการฉีกขาดของหนังศีรษะร้อยละ 90
อาการที่อาจพบ
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ชัก อาเจียน
อ่อนแรงครึ่งซีก ตรงข้ามกับด้านรอยโรค
รูม่านตาขยาย Fixed ข้างเดียวกับรอยโรค
สมองบวม
เป็น ภาวะที่เนื้อสมองเพิ่มปริมาตรเนื่องจากการบวมน้ำภายหลังได้รับการบาดเจ็บที่ศรีษะ
ปัจจัยที่ทำให้ปริมาตรของสมองเพิ่มขึ้น เช่ มีการเพิ่มของจำนวนน้ำทั้งนอกหรือในเซลล์ หรือการเพิ่มปริมาณเลือดที่หล่อเลี้ยงสมอง หรือมีก้อนเลือดในสมอง
Hydrocephalus
พยาธิสภาพ คือ น้ำหล่อสมองไขสันหลังส่วนใหญ่สร้างจาก Choroid plexus มีส่วนประกอบคล้ายพลาสมา ต่างกันที่โปรตีนและเกลือแร่ต่ำกว่า สร้างประมาณวันละ 500 cc ทำหน้าที่หล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังรองรับแรงกระแทก
ความดันในกะโหลกศรีษะสูง IICP
ปกติค่าความดันในกะโหลกศีรษะผู้ใหญ๋มีค่า อยู่ระหว่าง 5-15mmHg
สาเหตุ
มีการเพิ่มขนาดของสมอง
มีสิ่งกินที่ในสมอง ( ก้อนเลือด ฝี เนื้องอก เส้นเลือดโป่งพอง)
สมองบวม
การเพิ่มของเลือที่ไปเลี้ยงสมองมาดขึ้น
เลือดดำไหลกลับไม่สะดวก
เส้นแดงในสมองขยาย
ได้รับยาขยายหลอดเลือดสมอง
การเพิ่มของน้ำไขสันหลัง
มีการผลิตมากขึ้นจากเนื้องอกของ Choroid plexus
มีความผิดปกติของการดูดซึม
มีการอุดตันของทางเดินน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
มีการเปลี่ยนแปลง LOC
มีการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
ผิดปกติในการพูด การชัก การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
สมองเคลื่อน
เป็นภาวะที่เนื้อสอมงเคลื่อนสู่บริเวณอื่นที่ไม่ใช่ตำแหน่งที่ตั้งตั้งปกติ ภายหลังที่ไม่สามารถปรับสมดุลภายในกะโหลกศรีษะได้ต่อไป