Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท (ภาวะสมองเคลื่อน (cerebral…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาท
ซักประวัติ
-ประวัติที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคิดรู้และการรู้สติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย
อาการปวดศีรษะ ตามัว
อาการของการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
อาการชัก อาการซึมลง
ความผิดปกติในการพูด เช่นพูดลำบาก พูดตะกุกตะกัก พูดไม่ชัด
ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรม และบุคลิกภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
การประเมินจากการตรวจร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
ประสาทสมอง
การรับความรู้สึก
การเคลื่อนไหว
ระดับความรู้สึกตัว
Stupor ผู้ป่วยหลับลึกแต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงและกระตุ้นซ้ำๆกันพลายครั้งการตอบสนองที่เกิดขึ้นจะค่อนข้างช้าเมื่อหยุดกระตุ้นผู้ป่วยจะหลับตาลงไปอีก
Coma ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
Semi coma ผู้ป่วยสามารถตอบสนองต่อการกระตุ้นแบบ deep pain เช่นแสดงสีหน้าอาจมีการขยับแขนหรือเอามือมาปัดตำแหน่งที่กระตุ้น
Coma ผู้ป่วยไม่มีการตอบสนองต่อการกระตุ้นเลย
Drowsiness ผู้ป่วยหลับตาแต่เมื่อเรียกชื่อสามารถตื่นลืมตาและดำเนินบทสนทนาที่ไม่ซับซ้อนได้มีอาการง่วงพูดช้าและสับสน
Disorientation การรับรู้ผิดปกติผู้ป่วยไม่รับรู้ต่อเวลาบุคคลและสถานที่ระดับความรู้สึกตัวเริ่มลดลง
Confusion รู้สึกสับสนและมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
Full consciousness รู้สึกตัวดีมีการรับรู้ปกติ
การประเมินการเคลื่อนไหวและกำลังของแขนขา
การประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ Motor Power
เกรด / ระดับ 2 กล้ามเนื้อมีแรงที่จะเคลื่อนไหวขอตามแรงโน้มถ่วงได้
เกรด / ระดับ 3 แขนหรือขาสามารถยกได้แต่ต้านแรงที่กดไว้ไม่ได้
เกรด / ระดับ 1 กล้ามเนื้อไม่มีแรงหดตัวแต่ใยกล้ามเนื้อหดตัวได้ / มีการเคลื่อนไหวปลายนิ้วมือ-เท้าได้เล็กน้อย
เกรด / ระดับ 4 = แขนหรือขาสามารถยกได้แต่ต้านแรงที่กคได้นัอยกว่าปกติ
เกรด / ระดับ 0 กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต / แขนหรือหาไม่มีการเคลื่อนไหว
เกรด / ระดับ 5 แขนหรือขามีกำลังปกติ
การตรวจการทำงานของการรับความรู้สึก Sensory Function
2+ ปกติ
1+ มีปฏิกิริยาน้อยกว่าปกติ
3+ มีปฏิกิริยามากกว่าปกติ
0 ไม่มีปฏิกิริยา
4+ มีปฏิกิริยาอย่างมาก
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง Signs of meningeal irritation
คอแข็ง (Stiff neck)
Kernig sign ให้ผู้ป่วยนอนหงายราบหนุนหมอน ใช้มือข้างหนึ่งประคองจับข้อเท้าอีกข้างวางบริเวณข้อเข่าผู้ป่วย จากนั้นงอข้อสะโพกและเข่าเป็นมุมฉาก แล้วค่อยๆเหยียดเข่าออกถ้าผู้ป่วยปวดและมีอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อแสดงว่าให้ผลบวก
Brudzinki's sign จะให้ผลบวกเมื่อศีรษะและคางให้คางชิดอกแล้วมีการตอบสนองโดยการงอต้นแขนและขาทั้งสองข้าง
การประเมินสภาพผู้ป่วยทางระบบประสาท
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพ (Focal neurological signs)
ประเมินลักษณะของรูม่านตา (Pupil)
ขนาด (size)
ปฏิกิริยาต่อแสง (react to light)
รูปร่าง (shape)
การเคลื่อนไหวและกำลังของเเขนขา (movement of the limbs and motor power)
แขนงอ: (abnormal flexion) จะมีเฉพาะส่วนแขนเท่านั้น
แขนหรือขาเหยียดเกร็ง: (abnormal extension)
อ่อนแรงมาก: มีแรงเคลื่อนไหวข้อต้านแรงถ่วงได้ยกขึ้นได้ แต่ต้านแรงกดไม่ได้
อัมพาต: ไม่มีการเคลื่อนไหวแขนขาเลยแม้กระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
อ่อนแรงเล็กน้อย: มีแรงเคลื่อนไหวข้อต้านแรงถ่วงได้แต่ต้านแรงกดได้น้อยกว่าปกติ
กำลังปกติ: แขนหรือขามีกำลังปกติ
การวัดสัญญาณชีพ (Vital signs) การประเมินการหายใจ
การหายใจแบบ Central neurogenlc hyperventilation คือหายใจหอบลักสม่ำเสมอมากกว่า 40 ครั้ง / นาทีพบในผู้ป่วยที่มีการกดเบียค mid braln จากการยืนของสมองผ่าน tentorial
Apneutic Breathing เป็นการหายใจเข้าเต็มที่แล้วหยุคนึ่งเป็นเวลานานแล้วจึงหายใจออกแล้วหยุดหายใจทิ้งก่อนจะหายใจเข้าใหม่พบในผู้ที่มีพยาธิสภาพที่ก้านสมองส่วน (pons) หรือผู้ที่มีการอุดตันหรือการแตกของหลอดเลือดแดงเบซิลาร์ (basilar artery)
การหายใจแบบ Chevyne-Stoke replration คือการพายใจเร็วสกันกับทพูดหายใจเป็นระยะแสดงว่ามีการเงยหน้าที่ของสมอง dlencephalons
Biot 's or Artaxic Breathing เป็นลักษณะการหายใจไม่สม่ำเสมอทั้งอัตราเร็วและความลึกพบในผู้ที่มีพยาธิสภาพกคศูนย์หายใจที่ Pons และ Medella
Cluster Breathing มีลักษณะการหายใจเป็นกลุ่มๆและมีช่วงจังหวะการหยุดหายใจไม่สม่ำเสมอพบในผู้ที่มีพยาธิสภาพที่ก้านสมองส่วน pons และ Medela
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย (Neurodiagnotic Studies)
การถ่ายภาพโดยใช้คลื่นเสียง (Magnetic Resonance Imaging: MRI)
การเจาะหลัง (Lumbar puncture)
การถ่ายภาพสมองด้วยคอมพิวเตอร์ (Computed Tomography: CT)
การตรวจคลื่นสมอง (Electroencephalograrn: EEG
และกระดูกสันหลัง (Skull and spine radiographic
การฉีดสารทึบแสงเข้าเส้นเลือดสมอง (Cerebral angiography
การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะ
การวัดความดันในกะโหลกศีรษะอย่างต่อเนื่อง (Continuous Intracranial Pressure Monitoring)
การวัดระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย (Coma sale)
ความสามารถในการเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด (Best motor response:M)
M2 = แขนและขาเหยียดผิดปกติ (Decerebration)
M3 = แขนงอเข้าหาลาตัวส่วนขาทั้ง 2 ข้างเหยียคงอ (Decortication)
M1 = ไม่มีการเคลื่อนไหว
M4 = เมื่อทาให้เจ็บปักแขนขาหนี (withdrawal)
M5 = ไม่ทาตามสั่งแต่ทราบตาแหน่งที่เจ็บ (localized to pain)
M6 = เคลื่อนไหวตามคาสั่งได้ถูกต้อง (obey to command)
ความสามารถในการสื่อภาษาที่ดีที่สุด(Best verbal response:V)
V1 = ไม่ส่งเสียง
V2 = ส่งเสียงไม่เป็นคำพูดครวญคราง (incomprehensible)
3 = ส่งเสียงเป็นคำๆ (inappropriate)
V4 = พูดได้เป็นประโยคแต่สับสน (confused conversation
V5 = พูดตอบคำถามได้ปกติและถูกต้อง (oriented)
ความสามารถในการลืมตา (Eye opening:E)
E2 = ลืมตาเมื่อเจ็บ (pain)
E3 = ลืมตาเมื่อเรียก (speech)
E1 = ไม่ลืมตาเลย (none)
E4 = ลืมตาเอง (spontaneous)
การบาดเจ็บที่ศรีษะ (Head injury:HI) หรือ สมองได้รับบาดเจ็บ (Traumatic Brain Injury:TBI)
กลไกการบาดเจ็บที่ศีรษะ
การบาดเจ็บโดยตรง(direct injury) คือบาดเจ็บที่เกิดบริเวณศีรษะโดยตรง
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะอยู่นิ่ง (static head injury) คือบาดเจ็บที่เกิดแก่ศีรษะขณะอยู่นิ่งหรือเคลื่อนไหวเล็กน้อยเช่นการถูกดีถูกยิงเป็นต้น
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่ (dynamic head injury) คือบาดเจ็บที่เกิดแก่ศีรษะขณะที่ศีรษะมีความเร็วไปกระทบกับวัตถุที่อยู่นิ่งหรือกำลังเคลื่อนที่เช่นขับรถไปชนต้นไม้ขับรถไปชนกับรถที่วิ่งสวนทางเป็นต้น
การบาดเจ็บโดยอ้อม (Indirect injury) คือการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับส่วนอื่นของร่างกายแล้วมีผลสะท้อนทำให้เกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะขึ้นเช่นตกจากที่สูงกันกระแทกพื้นทำให้ศีรษะกระแทกลงมาบนส่วนของกระดูกคอเป็นผลทำให้เกิดอันตรายต่อแกนสมองส่วนเมคัลลาโดยตรง
พยาธิสรีรภาพของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก (Primary head injury) เป็นการบาดเจ็บที่เกิดทันทีที่มีแรงกระทบต่ออวัยวะชั้นต่างๆของศีรษะ
หนังศีรษะ (Scalp)
ถลอก (abrasion) เป็นการหลุดของผิวหนังชั้นหนังกำพร้าเมื่อศีรษะครูดกับวัตถุ
ฉีกขาด (laceration) เป็นบาดแผลที่เกิดจากวัตถุที่มีคมทำให้เกิดบาดแผลที่มีขอบเรียบแต่ถ้าเกิดจากวัตถุที่ไม่มีคมจะทำให้บาคนผลชอกช้ำขอบแผลไม่เรียบหรือหนังศีรษะขาดหาย (avulsion)
บวมช้ำหรือโน (confusion) เป็นการชอกช้ำของหนังศีรษะชั้นนอกจากแรงกระทบโดยตรงจากวัตถุที่ไม่มีคม
กะโหลกศีรษะ (Skull)
กะโหลกแตกร้าวเป็นแนว (linear skull fracture) การแตกชนิดนี้ทำให้หลอดเลือคของเยื่ออราและเนื้อสมองส่วนนั้นฉีกขาดเกิดepidural hematoma, acute subdural hematoma และ brain confusion
กะโหลกแตกร้าวบริเวณฐาน (basilar skull fracture)
รอยเขียวคล้ำบริเวณหลังหู (Battle S Sign)
แก้วหูฉีกขาดเลือดออกหลังแก้วหู
มีน้ำหรือเลือดไหลทางจมูก (rhinorrhea) และ / หรือทางรูหู (otorrhea)
ผิวหนังบริเวณรอบเบ้าตาเขียวคล้ำ (raccoon s eyes)
เนื้อสมองซ้ำ (brain confusion) ตำแหน่งที่มีการช้ได้บ่อยคือบริเวณสมองส่วนหน้าโดยเฉพาะรอยต่อ frontotemporal
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง (Secondary head injury) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดหลังจากการบาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรกโดยใช้ระยะเวลาเป็นนาทีชั่วโมงหรือเป็นวัน
Intracranial hematoma
epidural hematoma-EDH เกิดจากแรงกระแทกที่ทำให้กะโหลกเปลี่ยนรูปเยื่อ dura แยกออกและมีเลือดออกไปอยู่ในช่องระหว่างผิวด้านในของกะโหลกศีรษะ
subdural hematoma-SDH เกิดจากการมีเลือดออกบริเวณระหว่าง dura matter และเยื่อ arachinold matter หรือ subdura space
acute subdural hematoma เกิดภายใน 48 ชั่วโมงของการบาดเจ็บผู้ป่วยจะมีระดับการรู้สติลดลงปวดศีรษะง่วงซึมสับสน
subscute subdural hematoma เป็นการเกิดก้อนเลือดใต้เยื่อดูราที่ทำให้เกิดอาการภายใน 2 วันถึง 2 สัปดาห์
chronic subdural hematoma เป็นการบาดเจ็บที่เกิดหลังจากบาดเจ็บนานเป็นหลายๆเดือนอาการที่พบเช่นปวดศีรษะอย่างรุนแรงสับสนง่วงซึมรูม่านตาขยายข้างเดียว
Subarachnoid hemorrhage เป็นการมีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มสมองระหว่างชั้น arachinoid กับชั้น pia matter อันเนื่องจากมีการฉีกขาดของ bridging vein ระหว่างผิวสมองและ veneous
intracerebral hematoma-ICH อาการแสดงมักสัมพันธ์กับขนาดและตำแหน่งของก้อนเลือดทำให้หน้าที่ของสมองเฉพาะส่วนเสียไปและมีความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้นอัตราการตายสูงและอาจต้องรักษาโดยการผ่าตัด
สมองบวม (cerebral edema) เป็นภาวะที่เนื้อสมองเพิ่มปริมาตรเนื่องจากการบวมน้ำภายหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
Vasogenic edema เกิดจากการมีการทำลายการทำหน้าที่ตามปกติของ blood brain barrier ทำให้มีน้ำและโปรตีนรั่วเข้าสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์
Cytotoxic edema เกิดจากการเสียหน้าที่ในการรับโซเดียมออกนอกเซลล์จึงทำให้มีโซเดียมและน้ำลงราายในเซลล์
วิธีการรักษา
การผ่าตัดมีจุดมุ่งหมายเพื่อลคสิ่งกดเบียดในสมอง
Craniotomy คือการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะแล้วปิด
Cranlectomy คือการผ่าตัดเปิดกะโหลกแล้วไม่ปิค
Cranioplasty คือการผ่าตัดปิคกะโหลกศีรษะในภายหลังโดยทั่วไปจะผ่าตัดปิดกะโหลกเมื่อสมองยุบบวมและไม่มีการติดเชื้อที่ระบบต่างๆของร่างกาย
การใช้ยายาที่นิยมใช้ในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ
sedative และ muscle relaxant
ให้ยาเพื่อควบคุมความดันเลือด
ให้ยาควบคุมอาการชัก
ยาขับปัสสาวะ
ยาสเตียรอยด์
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง Increase intracranial pressure = IICP)
สาเหตุที่ทำให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูง
มีการเพิ่มขนาดของสมอง
มีสิ่งกินที่ในสมอง
สมองบวมจากการบาดเจ็บที่ศีรษะ (Head injury)
การเพิ่มของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมากขึ้น
เลือคคำไหลกลับไม่สะดวก
เส้นเลือดแดงในสมองขยาย
ได้รับยาขยายหลอดเลือดสมอง
การเพิ่มของน้ำไขสันหลัง
มีความผิดปกติในการดูดซึมเนื่องจากมีเลือดในน้ำไขสันหลัง
มีการอุดตันของทางเดินน้ำไขสันหลังเนื่องจากก้อนเลือดและอื่นๆ
มีการผลิตมากขึ้นจากมีเนื้องอกของ choroid plexus
การไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงสมอง cerebral blood flow-CBF
ปัจจัยเมตาบอลิซึม (metabolism factor)
ถ้าปริมาณของ 02 ในเลือดแดงต่ำลง Pa02 4 60มม. ปรอททำให้หลอดเลือดขยาย CBF เพิ่มขึ้นแต่ถ้า Pa02 เพิ่มขึ้นมากกว่าปกติไม่มีผลต่อหลอดเลือดสมอง
อุณหภูมิกายที่สูงขึ้น 1 องศาเซลเซียสทำให้เมตตาบอลิซึมเพิ่มขึ้น 10% จึงต้องเพิ่ม CBF เพื่อเพิ่มจำนวนออกซิเจนและเพิ่มการขับคาร์บอนไดออกไซด์
เมื่อ PaC02> 40-45 มม. ปรอทจะทำให้หลอดเลือดขยายเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงสมองเพิ่มขึ้นเพื่อนำของเสียออกมา
ปัจจัยภายนอกหลอดเลือด
cardiac Output ควรมีประมาณ 4-8 ลิตร / นาทีจึงทำให้ mean SABP> 100 ซึ่งทำให้ CBF เพียงพอ
Systemic arterial blood pressure (SABP) จะมีค่าขึ้นลงระหว่าง 60-150 mmHg จึงทำให้ CBF เพียงพอถ้า mean systemic pressure> 50 หรือ <50 mmHg จะสูญเสีย autoregulation
กลไก Autoregulation
Pressure autoregulation mechanism อยู่ที่ smooth muscle reflex ของหลอดเลือด arterioles
Metabolic autoregulation-ตอบสนองจากเมตาบอลิซึมซึ่งเป็นสาเหตุให้หลอดเลือดสมองยึดหรือขยายได้ตามการเปลี่ยนแปลงระดับความเข้มข้นของ O2 และ CO2 ในเลือด
แบ่งกลไกออกเป็น 4 ระยะ
ระยะที่มีการชดเชยโดยกลไกการควบคุมอัตโนมัติเป็นระยะที่เริ่มมีสิ่งกินที่ในกะโหลกศีรษะ ระยะนี้ระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยยังคือยู่และยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพอาจมีอาการปวดศีรษะแต่ไม่รุนแรง
ระยะที่มีการชดเชยโคยดูชิงรีเฟลกซ์ (Cushing 's reflex) เป็นระยะที่เริ่มสูญเสียกลไกการควบคุมอัตโนมัติของสมองแล้ว โดยความดัน systolic จะสูงขึ้น pulse Dressure กว้างมากกว่าปกติหัวใจเต้นช้าลงการหายใจช้าและลึกหายใจไม่สม่ำเสมอ
Cushing 's reflex
ความดัน systolic จะสูงขึ้น> 140 mmHg
pulse pressure กว้างมากกว่าปกติ 240 mmHg
หัวใจเต้นช้าลง <60 ครั้ง / นาที
การหายใจช้าและลึกหายใจไม่สม่ำเสมอ 4 12 ครั้ง / นาที
GCS drop 22 คะแนน
ระยะท้ายของการชดเชยโดย Cushing reflex เป็นระยะที่ ICP สูงขึ้นอย่างน่ากลัวอาจสูงเท่าแรงดัน Systolic จนทำให้ศูนย์ควบคุมการหคขยายของหลอดเลือดสมองเป็นอัมพาตจนไม่มีเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงสมองได้อีกและเสียชีวิต
ระยะสูญเสียกลไกการชดเชยโดยสิ้นเชิงเป็นระยะต่อเนื่องจากระยะที่ 3 เป็นระยะที่ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นอาจเท่ากับความดัน Systolic ทำให้ศูนย์ควบคุมการหคขยายของหลอดเลือกในก้านสมองเป็นอัมพาตจนไม่มีเลือดไหลเวียนไปสมองได้อีก
อาการและอาการแสดง IICP
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากการสูญเสียหน้าที่ของสมองเฉพาะที่
ผิดปกติในการพูด
การชัก
การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
อาการและอาการแสดงที่เกิดจาก IICP ทั่วๆไป
มีการเปลี่ยนแปลง LOC เมื่อความคันในโพรงกะโหลกศีรษะสูงถึงความคันไคแอสโตลิคหลอดเลือดฝอยในสมองจะถูกกดทำให้สมองขาดออกซิเจนเซลล์สมองไวต่อการขาดออกซิเจนมาก
มีการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพเนื่องจาก ICP สูงมากจนกด Pons, medullar, hypothalamus และ thalamus
Pupillary Signs รูม่านตาขยายปฏิกริยาสองข้างไม่เท่ากันการมองเห็นลดลงเห็นภาพซ้อน
papilledema
อาเจียนและสะอีก
ปวดศีรษะปวดตอนกลางคืนตื่นมาอาเจียน
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากการเลื่อนของสมอง
early finding มักพบอาการกระสับกระส่าย
Late finding LOC ลดลงเรื่อยๆรูปแบบการหายใจเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยส่งเสริมของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
การทำกิจกรรมบางอย่าง
ภาวะไข้สูง
การได้รับยาที่มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือด
อุณหภูมิร่างกายต่ำเกินไป
การระบายอากาศหายใจไม่เพียงพอ
อารมณ์หรือการถูกกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
ภาวะสมองเคลื่อน (cerebral herniation)
เป็นภาวะที่เนื้อสมองเคลื่อนสู่บริเวณอื่นที่ไม่ใช่ตำแหน่งที่ตั้งตามปกติ
การเคลื่อนของสมอง
สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ
ช่องทางเหนือเทนทอเรียม (supratentorial)
ช่องทางใต้เทนทอเรียม (infratentorial)
สมองเคลื่อน
มีการเคลื่อนของสมองใหญ่ซีกหนึ่งไปยังซีกตรงข้ามที่มีแรงดันน้อยกว่า cingulate หรือ Subfalcine hernlation
Central hernlation ซึ่งมีอาการตาเหลเข้าด้านในจากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 ถูกกด
Uncal hernlatlon เกิดจาก temporal lobe ถูกคันผ่าน tentorial notch
บริเวณช่องใต้กะโหลก (foramen magnum) ซึ่งเป็นทางผ่านของไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
อาการปวดศีรษะมักปวดมากตอนกลางคืนแล้วตื่นขึ้นมาอาเจียน
อาเจียนหรือสะอีกลักษณะการอาเจียนไม่มีอาการคลื่นไส้นำมาก่อนจึงเรียกว่า unexpected vomiting เป็นการอาเจียนแบบพุ่ง
ขั้วประสาทตาบวม (papilledema)
การชัก
การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
การหายใจอัตราการหายใจช้าลงไม่สม่ำเสมอและเกิด cheyne-strokes
การไหลเวียนเลือดผิดปกติมีการลดของ CBF และสมองต้องปรับตัวเพิ่มความดัน Systolic มากกว่า diastolic
อุณหภูมิจะเพิ่มถึง 39-40 องศาเซลเซียส (hypertermia)
การอ่อนแรงและการมีอัมพาตของกล้ามเนื้อถ้าเกิดสมองย้อยจะพบการเคลื่อนไหวแบบ decorticate decerebrate
การรักษา
การรักษาด้วยยา
กลุ่ม Osmotic diuretics เช่น mannitol 20% และ 25% (0. 25 g / kg) โดยยับยั้งไม่ให้ไตดูดน้ำเกลือแร่ในปัสสาวะกลับเข้าสู่ร่างกาย
Glucocorticoids เป็นยาช่วยลดสมองบวมที่นิยมใช้คือ DexametaSone ให้ทางหลอดเลือดดำและต้องดูและระวังเลือดออกทางเดินอาหารและระดับน้ำตาลในเลือดสูง
Anticonvulsant ยากันชักจะช่วยควบคุมและป้องกันรกรชัยที่อาจเกิดขึ้นยาที่นิยมใช้ ได้แก่ Phenytonin (Dilanin) จะใช้ 100 mg ทุก 3-4 เวลาต่อกันให้ทางหลอดเลือด
Nonosmotic diuretic ได้แก่ กลุ่ม loop diuretics Lasix เพื่อดึงโซเดียมและน้ำออกจากบริเวณที่บวมเพื่อลดภาวะสมองบวม
Babiturate ใช้ในรายที่มี ICP รุนแรง
การผ่าตัดเพื่อลดสิ่งที่เบียดสมอง
ลดความดันภายนอกโดยการผ่าตัดทำ Decompressive Craniectomy
ลดความดันภายในโดยการทำ Ventricular drainage ในผู้ป่วยที่มี hydrocephalus ผู้ป่วยจะต้องระบายเอาน้ำหล่อสมองและไขสันหลังออกชั่วคราวเรียกว่า ventriculostomy
การพยาบาลที่สำคัญ
การดูแลทางเดินหายใจเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่งร่างกายได้รับออกซิเจนเพียงพอลดการคั่งของ C02
การจำกัดสารน้ำ
การประเมินผู้ป่วยทางระบบประสาทประเมินโดยใช้แบบประเมินผู้ป่วยทางระบบประสาท (neurological observation sheet)
การลดปัจจัยที่ทำให้ความค้นภายในโพรงกะโหลกศีรษะเพิ่มสูงขึ้น
การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะ IICP
การจัดท่าจัดท่าศีรษะสูง 30 องศา
ป้องกันการเกิด valsava maneuver เช่นการไอจาม
การดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
หลีกเลี่ยงการผูกยึดผู้ป่วย
ประเมินอาการทางระบบประสาท GCS
ลดอุณหภูมิในร่างกาย
ลดสิ่งกระตุ้นที่ไม่จำเป็น
ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเลคโทรลัยท์
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
การดูแลเพื่อผู้ป่วยใส่เครื่องวัดความดันในกะโหลกศีรษะ
ดูแลทางด้านจิตใจ
Hydrocephalus
หมายถึงการมีน้ำของสมองและไขสันหลัง (CSF) ถูกสะสมภายในกะโหลกศีรษะในปริมาณที่มากเกินเป็นเหตุนำไปสู่การเกิดสมองบวม brain Sweling)
การแบ่งชนิด (Classification)
แบ่งตามการอุดตันทางเดินน้ำหล่อสมองไขสันหลัง (Functional classification)
Non communicating hydrocephalus (Obstructive. hydrocephalus) การอุดตันโพรงสมอง
Communicating hydrocephalus การอุดตันนอกโพรงสมองการสร้างหรือการดูดซึมน้ำหล่อสมองและไขสันหลังผิดปกติ
แบ่งตามพยาธิสรีรวิทยากลไกการเกิด
การสร้างน้ำในโพรงสมองมากเกิน (Increase CSF secretion)
การอุคต้นทางเดินน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง (CSF pathway obstruction)
การดูดซึมน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง (Decreaed CSF absorption)
ความผิดปกติที่ก่อให้เกิดภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
การสร้างมากเกินเช่นเนื้องอกของ Choroid plexus (Choroid plexus papilloma)
การอุดตันทางเดินน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
Obstructive hydrocephalus หรือ Non communicating hydrocephalus
สาเหตุมีได้หลายอย่างเช่นเนื้องอกสมองเลือดออกในโพรงสมองและเนื้อสมองความพิการแต่กำเนิด (Aqueductal stenosis) การติดเชื้อเช่นพยาธิตืดหมูในสมอง (Neurocysticcercosis)
Communicating hydrocephalus
สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดคือเลือดออกใต้ช่องเยื่อหุ้มสมอง (Subarachnoid hemorrhage) และการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมองสาเหตุอื่นๆที่ไม่ใช่การอุดตันในโพรงสมอง
การดูดซึมผิดปกติสาเหตุจากการอุดตันหลอดเลือดดำ Venous sinus thrombosis) หรือการอักเสบArachnoiditisจากการติดเชื้อหรือเลือดออกก่อให้เกิด Communicating hydrocephalus
การรักษา (Treatment)
การรักษาด้วยยายาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการสร้างน้ำหล่อสมองและไขสันหลังประมาณ 25-50%
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย (External Ventricular Drainage = EVD, Ventriculostomy)
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกายผ่าตัดใส่สายระบาย
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง (Shunt malfunction)
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง (Shunt infection)
การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง (Shunt obstruction)
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ (Slit ventricle)
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน (Overdrainage)
การพยาบาลหลังผ่าตัดสมอง
กิจกรรมพยาบาลในการช่วยให้ผู้ป่วยสุขสบายและบรรเทาอาการปวดแผลผ่าตัด
จัดท่านอนของผู้ป่วยให้นอนในท่าที่สุขสบายไขหัวเตียงสูง 30 องศา
ประเมินความปวดโดยใช้ PS
พูดคุยเบี่ยงเบนความสนใจเพื่อบรรเทาอาการปวด
แนะนำให้ขอความช่วยเหลือเมื่อไม่สุขสบาย
ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
กิจกรรมพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อในระบบต่างๆ
ล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังให้การพยาบาล
วัดและบันทึกอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชั่วโมงสังเกตบันทึกลักษณะปริมาณสีและกลิ่นของสิ่งคัดหลั่งจากแผลและน้ำไขสันหลัง
ดูแลให้แผลผ่าตัดและผ้าปิดแผลแห้งและสะอาดอยู่เสมอ
ติดตามผลการส่งเพาะเชื้อสิ่งคัดหลั่งจากแผลเสมหะไขสันหลังและปัสสาวะตามแผนการรักษา
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
กิจกรรมการพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับน้ำและยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ลงบันทึกปริมาณสารนำเข้าและออกจากร่างกาย
สังเกตอาการของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงเช่นปวดดีรษะคลื่นไส้อาเจียน
ดูแลให้มีการขับถ่ายอุจจาระปกติห้ามเบ่งห้ามส่วนถ้าไม่ถ่ายรายงานแพทย์ทราบ
ดูแลระบบทางเดินหายใจ
ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
สังเกตและประเมินลักษณะการหายใจ
จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา
ติดตามผล ABG
ประเมินภาวะของการพร่องออกซิเจนของผู้ป่วยดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
การพยาบาลก่อนผ่าตัดสมอง
เตรียมทางด้านร่างกายก่อนผ่าตัด
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ตรียมทางด้านจิตใจ